Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16925 เมื่อ: 13 กันยายน 2561, 08:19:23 » |
|
“รู้” ตรงข้ามกับ “หลง” เมื่อใดที่เราหลง ปัญหาและความทุกข์ก็มักจะตามมา เราไม่เพียงแต่หลงทางหรือหลงเชื่อคนอื่นเท่านั้น ที่สำคัญและเกิดขึ้นบ่อย ๆ ก็คือ “หลงความคิด” และ“หลงอารมณ์” ซึ่งทำให้เราไม่รู้เนื้อรู้ตัว จนพลั้งเผลอหรือผิดพลาด เช่น พูดร้าย หรือทำร้ายผู้อื่น กระทั่งทำร้ายตนเอง แม้ไม่ถึงขั้นนั้น แต่สิ่งที่มักเกิดขึ้นก็คือ จมอยู่ในความทุกข์ เพราะจิตหลงเข้าไปในอดีตอันเจ็บปวด หรือติดอยู่ในภาพอนาคตที่ปรุงแต่งในทางลบ จนเกิดความเศร้าโศก อาลัยอาวรณ์ โกรธแค้น ขุ่นมัว หรือไม่ก็วิตกกังวล หนักอกหนักใจ
เพียงแค่กลับมารู้สึกตัว หรือรู้ทันความคิดและอารมณ์ที่เผลอพลัดเข้าไปเท่านั้น จิตก็จะกลับมาเป็นปกติสุข หลุดพ้นจากอารมณ์เหล่านั้นได้ ทุกวันสามารถเป็นวันแห่งความสดชื่นเบิกบานได้ หากเรามีความรู้สึกตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีสติช่วยเตือนใจให้รู้ทัน ไม่หลงเข้าไปในความคิดและอารมณ์เหล่านั้นจนหมดเนื้อหมดตัว
ทุกท่านสามารถ ฝึกความรู้สึกตัว จนสามารถแนกรูป-แยกนาม ได้ จะเห็นความคินตนเอง รู้ความคิดตนเอง เห็นอารมภ์ที่มาแรุงแต่งตอตตนเอง และเมื่อเห็น มีสติ มีปัญญา รู้ว่าธรรมชาติมันเป็นอย่างนั้น สามารถอุเบกขา ไม่หลงไปกับอารมภ์ ไม่หลงไปกับความคิด ตนเองได้
สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16926 เมื่อ: 14 กันยายน 2561, 06:52:04 » |
|
อยู่กับทุกข์โดยไม่ทุกข์
เมื่อเจอทุกข์ อย่างแรกที่ควรทำก็คือ การยอมรับ กล่าวคือ ไม่ผลักไส ปฏิเสธ หรือตีโพยตีพาย โวยวายคร่ำครวญ เพราะการทำเช่นนั้นมีแต่จะเพิ่มทุกข์ให้แก่เรา นั่นคือทุกข์ใจ แต่ทันทีที่เรายอมรับได้ หยุดบ่น หยุดโวยวาย ใจก็จะกลับมาเป็นปกติ ทำให้สมองโล่ง สามารถนำปัญญามาใช้แก้ทุกข์ให้ลุล่วง หรือแก้ปัญหาให้เบาบางลงได้
จะว่าไปแล้ว อะไรเกิดขึ้นกับเรา ไม่สำคัญเท่ากับว่าเรารู้สึกหรือมีท่าทีกับมันอย่างไร เจอเหตุร้าย แต่ใจยอมรับได้ หรือรู้จักมองบวก คือ หาประโยชน์จากมัน รวมทั้งมองว่ามันเป็นธรรมดาของชีวิตและโลก รู้จักปล่อยวางได้ ใจก็ไม่เป็นทุกข์ ในทางตรงข้ามแม้เจอโชคลาภ แต่ไม่รู้จักพอ อยากได้มากกว่านั้น หรือเปรียบเทียบกับคนอื่นที่ได้มากกว่า ใจกลับเป็นทุกข์ด้วยซ้ำ
พระไพศาล วิสาโล
สังคมปัจจุบันอยู่ยาก!
ดังนั้น เราอย่าไปเกาะอยู่กับมัน ทั้งกาย และใจ ระวังใจของเราอย่างเดียว ด้วยการทีสต รู้สึกตัว อยู่อย่างพอเพียง เราสามารถอยู่อย่างไม่ตกกระแสสังคม แต่เราไม่จำเป็นต้องทำตามกระแสสังคม(ความคิด) เพราะเราอยู่ของเราตามปกติ ประกอบไปด้วยจิตที่เป็นกุศล ไม่ทำให้ใครเดิอดร้อน อยู่ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา
สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16927 เมื่อ: 17 กันยายน 2561, 18:53:45 » |
|
นายกไก่ พาคณะกรรมการซีมะโด่งกราบสมเด็จพระสังฆราชฯ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16928 เมื่อ: 17 กันยายน 2561, 18:54:16 » |
|
คณะกรรมการ สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาฯ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16929 เมื่อ: 18 กันยายน 2561, 07:19:06 » |
|
"ทุกข์" พระพุทธองค์ท่านให้ "กำหนดรู้"
ทุกข์นั้นเป็นเสมือนประตูสู่ธรรม ด้วยเหตุนี้พระพุทธเจ้าจึงทรงยกทุกข์ให้เป็นอริยสัจข้อแรก จากนั้นจึงตามมาด้วยสมุทัย นิโรธ และมรรค ถ้าไม่เจอทุกข์ ก็ยากที่จะเข้าใจสมุทัย ไม่เห็นคุณค่าของมรรค และไม่อาจเข้าถึงนิโรธได้ อย่างไรก็ตามเมื่อเจอทุกข์แล้ว ก็ต้องเกี่ยวข้องกับทุกข์ให้เป็นนั่นคือ รู้ทุกข์ ไม่ใช่เป็นทุกข์ ดังนั้นพระองค์จึงสอนว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่ต้องกำหนดรู้ ไม่ใช่สิ่งที่ต้องละ ผลักไส หรือถลำเข้าไป
จะเห็นธรรมหรือถึงธรรมได้ ก็ต้องผ่านทุกข์เสียก่อน สำหรับผู้ใฝ่ธรรม ทุกข์จึงไม่ใช่สิ่งที่เลวร้าย น่ารังเกียจ หากแต่เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ หากใช้มันให้เป็น เกี่ยวข้องกับมันให้ถูก ก็เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะสามารถเปิดทางไปสู่การพ้นทุกข์ได้
พระไพศาล วิสาโล
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16930 เมื่อ: 18 กันยายน 2561, 07:26:56 » |
|
"สมุทัย" พระพุทธองค์ท่านให้ "ละ"
สมุทัย คือต้นเหตุแห่งการเกิดทุกข์ คือ "ตัณหา หรือความทะยานอยาก"
เมื่อเราเห็นความจริงในสมุทัยแล้ว เราก็จะ "ละ" ลงได้ เมื่อเหตุ-ปัจจัย ไม่มี ผลก็ไม่มี
ตัณหา เป็นต้นเหตุแห่งการสร้างภพ สร้างชาติ ประกอบไปด้วย - กามะตัณหา คือ ความอยากในรูป รส กลิ่น เสียง และโผฐทัพพะ - ภวะตัณหา คือความอยากมี อยากเป็น อยากได้ อยากเอา เป็นความอยากทางจิตใจ เป็นทุกข์ทางใจ - วิภาวะตัณหา คือความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น ไม่อยากพ้นทุกข์ เป็นทุกข์ทางใจ
เมื่อเราเห็นความจริงในสมุทัยแล้ว เราก็สามารถที่จะ "ละ" ลงได้ ตามคำสอนของพระพุทธองค์ สมุทัย ท่านให้ "ละ" เมื่อเหตุ-ปัจจัย ไม่มี ผลก็ไม่มี
สวัสดี ทุกท่านครับ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16931 เมื่อ: 18 กันยายน 2561, 08:00:43 » |
|
"นิโรธ" พระพุทธงค์ท่านให้ ทำให้ "แจ้ง"
นิโรธ คือความจริงที่เราไม่รู้ มาตั้งแต่เกิด ที่เราหลงไปยึด(อุปาทาน) กาย ใจนี้ ว่าเป็นตัวตนของเรา ชื่อของเรา เราเป็นนั่น(มีตำแหน่ง มีหน้าที่ สวมหัวโขน) นั่นเป็นของเรา(มีทรัพย์สมบัติ) หรือ ตามที่พระพุทธทาสท่านให้เข้าใจง่าย ไ คือ "ตัวกู ของกู" นั่นเอง
เพราะความหลงผิดแท้ ๆ เลยจึงไปยึดมั่น ถือมั่น (อุปสทาน)แบบนั้น แท้จริงแล้ว กาย-ใจ นั้น มันเป็นเพียง รูป-นาม หรือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั่นเอง เพราะความเข้าใจผิดจริง ๆ นี่เอง เมื่อเรา ไปรู้ความจริง อันนี้ จากการภาวนา ที่สามารถแยกรูป แยกนาม ออกมาได้ เป็น รูป จิต เจตสิก นิพพาน เราก็สามารถ ที่จะ"ละ" ความเป็นตัวตน สัตว์ บุคคล เรา เขา ลงได้ หรือ "ละ" อุปาทานขันธ์ ๕ ที่ประกอบไปด้วย รูป เวทนา สังขาร วิญญาณ ลงได้นั่นเอง
เังนั้น พระพุทองค์ ท่านจึงสิน นิโรธ ต้องทำให้ "แจ้ง" ในความจริงอันนี้
สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16932 เมื่อ: 18 กันยายน 2561, 08:10:05 » |
|
มรรค พระพุทธองค์ ท่านให้ "เจริญ"
มรรค คือทางเดิน วิถีในการดำรงชีวิต หรือวิธีปฏิบัติไปสู่การพ้นทุกข์ จนถึงซึ่งพระนิพพานได้ ประกอบไปด้วย - สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบตามความเป็นจริงในอริยสัจ ๔ - สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ในการที่จะไม่ยินดี ยินร้าย ในกามคุณ คือ รูป รส กลิ่น เสียง โผฐทัพพะ ธัมมารมภ์ นำไปสู่การประพฤติพรหมจรรย์ - สัมมาวาจา การพูดจาชอบ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ - สัมมากัมมันตะ การกระทำที่ชอบ คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม - สัมมาอาชีโว มีอาชีพที่ชอบ หากินด้วยใจสุจริต - สัมมาวายามะ สร้างกุศลใหม่ ละอกุศลใหม่ ทำอกุศลเก่าให้หมดไป ทำกุศลเก่าให้เจริญยิ่งขึ้น - สัมมาสติ ระลึกชอบ มีสติที่กาย เวทนา จิต ธรรม - สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ ทำสติให้อยู่ในฌาณที่ ๑, ๒ , ๓ และ ๔
มรรค พระพุทธองค์ ท่านสอนให้ ปฏิบัติ หรือให้ทำให้ "เจริญ" ยิ่ง ๆ ขึ้นไป จนถึงซึ่งพระนิพพาน
สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16933 เมื่อ: 20 กันยายน 2561, 09:37:00 » |
|
ความตาย
เป็นเพราะเห็นความตายเป็นเรื่องน่าสะพรึงกลัว เราจึงไม่อยากนึกถึงความตายของตนเอง (แต่อาจสนใจอยากรู้ความตายของคนอื่น ทั้งโดยผ่านสื่อนานาชนิดและด้วยพฤติกรรม “ไทยมุง”) สุดท้ายก็เลยลืม (หรือแกล้งลืม)ว่าตนเองจะต้องตาย แต่ไม่ว่าจะปัดไปให้พ้นตัวเพียงใด ในที่สุดความตายก็ต้องมาถึงจนได้
ความตายนั้นเป็นบททดสอบที่สำคัญที่สุดของชีวิต บททดสอบอื่น ๆ นั้นเราสามารถสอบได้หลายครั้ง แม้สอบตกก็ยังสามารถสอบใหม่ได้อีก แต่บททดสอบที่ชื่อว่าความตายนั้น เรามีโอกาสสอบได้ครั้งเดียว และไม่สามารถสอบแก้ตัวได้เลย ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นบททดสอบที่ยากมาก และสามารถเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ โดยไม่ทันได้ตั้งตัว เป็นบททดสอบที่เราแทบจะควบคุมอะไรไม่ได้เลย ไม่ว่าเวลา สถานที่ หรือแม้กระทั่งร่างกายและจิตใจของตนเอง
พระไพศาล วิสาโล
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16934 เมื่อ: 23 กันยายน 2561, 21:21:20 » |
|
การช่วยเหลือผู้อื่นนั้น ช่วยขัดเกลาและปรับปรุงจิตใจของเราโดยไม่รู้ตัว ทำให้เราเห็นแก่ตัวน้อยลง และมีจิตใจอ่อนโยนมากขึ้น ที่สำคัญอีกประการก็คือ ทำให้เรามีความสุขมากขึ้น หลายคนตั้งข้อสังเกตว่า ทีแรกคิดจะไปให้ความสุขแก่เขา กลับกลายเป็นว่า เขาให้ความสุขแก่เรา สอดคล้องกับพุทธพจน์ที่ว่า “ผู้ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข”
ดังนั้นถ้าเรารักตนเองจริง ๆ อยากให้ตนเองมีความสุขและมีจิตใจเจริญงอกงาม ควรช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่นมาก ๆ เพราะ “รักษาผู้อื่นก็คือรักษาตน”
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #16935 เมื่อ: 30 กันยายน 2561, 07:39:20 » |
|
สวัสดีครับพี่สิงห์
ไม่ได้เข้าเว็ปมาตั้งแต่เดือน เมษายน เลยครับ เดี่ยวนี้มีช่องทางอื่นเป็นอันมาก
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16936 เมื่อ: 03 ตุลาคม 2561, 06:27:58 » |
|
สวัสดีครับ คุณเหยง สบายดี นะครับ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16937 เมื่อ: 08 ตุลาคม 2561, 18:57:27 » |
|
"ในการ "ดูความคิด" จะแยกได้อย่างไรว่า ความคิดนั้นๆ เป็นกิเลสหรือสติ?"
"ในชีวิตประจำวัน ให้เอา "สติ" เฝ้าดู "ความคิด" เฝ้าดูเฉยๆ อย่างเป็นกลาง เห็นบ่อยๆ ดูบ่อยๆ คือ การฝึกเจริญสติ ดูกายที่มันเคลื่อนไหว ดูจิตใจที่มันนึกคิด จิตคนเราจะสุขหรือทุกข์นั้น ขึ้นกับ "วิธีคิด" เมื่อความคิดปรุงแต่งเกิดขึ้นมา ให้หยุดพิจารณาก่อนว่า "กิเลสคิด" หรือ "สติคิด" ?
..................................................................
กิเลสคิด เป็นอย่างไร?
"เวลากิเลสคิด... มักจะเป็นเรื่องอยากได้ อยากดี อยากมี อยากเป็น เป็นความคิดที่เหน็ดเหนื่อย เร่าร้อน กระวนกระวายใจ หนักอกหนักใจ คิดไม่เลิก นอนไม่หลับ คิดข้ามวันข้ามคืน คือ ถูกครอบงำด้วยโลภะ โทสะ โมหะ"
สติคิดเป็นอย่างไร?
"สติ...เป็นธรรมฝ่ายกุศล เป็นความคิดที่เบาสบาย มีธรรมะเข้าประกอบ เป็นความคิดที่ออกจากความโลภ ความโกรธ ความหลง ออกจากความพยาบาทเบียดเบียน เรียกว่า "ดำริชอบ" จิตใจจึงเบา สบาย เห็นแต่ความไม่เที่ยง บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่เป็นตัวตน จึงรู้สึกปล่อยวาง เหลือแต่หน้าที่ จบง่าย ความคิดจึงไม่ยาว "
(ฟังธรรม...แล้วนำมาเล่า) ท่าน อ.กำพล ทองบุญนุ่ม
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16938 เมื่อ: 09 ตุลาคม 2561, 17:39:10 » |
|
วิสัยของชาวพุทธย่อมไม่ด่วนสรุปว่าความเจ็บป่วยหรือทุกขเวทนานั้นเป็นเพราะกรรมเก่า ทั้งนี้เพราะมีเหตุปัจจัยต่าง ๆ มากมายที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วย ดังพระองค์ได้แจกแจงว่า “เวทนาบางอย่างเกิดขึ้น มีดีเป็นสมุฏฐานก็มี...มีเสมหะเป็นสมุฏฐานก็มี...มีลมเป็นสมุฏฐานก็มี...มีการประชุมแห่งเหตุเป็นสมุฏฐานก็มี...เกิดจากความแปรปรวนแห่งอุตุก็มี...เกิดจากการบริหารตนไม่สม่ำเสมอก็มี...เกิดจากถูกทำร้ายก็มี...เกิดจากผลกรรมก็มี”
จะเห็นได้ว่า “ผลกรรม”เป็นเพียงปัจจัยหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่สาเหตุเดียวที่ทำให้ผู้คนเจ็บป่วยหรือประสบทุกข์ อีกทั้งมิได้หมายความว่าเป็นผลกรรมในอดีตชาติเท่านั้น อาจเป็นผลกรรมในปัจจุบันชาติก็ได้ พึงสังเกตว่า พระพุทธองค์ไม่ได้ตรัสถึง “เจ้ากรรมนายเวร” เลย ทั้งนี้เพราะคำหรือแนวคิดดังกล่าวเกิดขึ้นในยุคหลัง (อาจเป็นยุคปัจจุบันนี้เอง) และถูกตีความให้ผิดเพี้ยนจนไกลจากหลักการของพุทธศาสนา
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16939 เมื่อ: 09 ตุลาคม 2561, 17:58:01 » |
|
อุบาสก-อุบาสิกา วัดพระนอน วันนี้ เดินคาถา ๑๐๐๐ พระคาถา
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16940 เมื่อ: 10 ตุลาคม 2561, 05:25:16 » |
|
ประเพณีสารทไทย ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ กวนกระยาสารท ฟังเทศน์มหาชาติพระเวสสันดรชาดก นี่คือประเพณีที่ปฏิบัิกันมานาน
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16941 เมื่อ: 11 ตุลาคม 2561, 08:59:18 » |
|
ในสมัยพุทธกาล บุคคลที่ขอบวชต่อพระพุทธองค์นั้น บวชเพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง และถึงซึ่งพระนิพพาน เป็นพระอริยบุคคล จนถึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ นั่นคือวัตถุประสงค์หลัก และบุคคลเหล่านั้นได้สะสมบุญ บารมีมามากจนได้พบพระพุทธองค์ แต่ยุคนี้เปลี่ยนไปปิดวัตถุประสงค์หลัก แต่ไม่ได้ผิดวัตถุประสงค์รอง คือ บวชเพื่อทดลองการรักษาศีล อยู่ด้วยปัจจัยสี่ที่พอเพียง และภาวนา เพื่อภายภาคหน้าจะได้มีชีวิตที่ดีขึ้น รู้จักบาป-บุณ คุณ-โทษ รู้ว่าอะไร? ดี อะไร? ไม่ดี เป็นการสร้างคนดี ให้สัมคม ทำให้คนเข้าเจ้าพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น จนเป็นกำลังกลักของอุบาสก-อุบาสิกาได้ มันก็เป็นหนทางหนึ่ง ที่จะสร้างคนดีให้สังคม ให้พระพุทธศาสนาได้ สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16942 เมื่อ: 11 ตุลาคม 2561, 09:26:33 » |
|
ธรรมะ คือความจริง มีอยู่จริง ในโลก(มนุษย์) ความจริง นั้นต้องหาให้พบด้วยการปฏิบัติด้วยตนเอง จนสามารถพบได้ รู้ได้ เห็นจริงได้ด้วยปัญญา เพราะหมดข้อสงสัย ไม่ใช้คิดเอา จากการฟัง จากการอ่าน ความคิด มีแต่จะเพิ่มอัตตาให้ตนเอง เพราะ คนจะหลงเข้าไปเป็น เมื่อหลงเข้าไปแล้ว คนจะคิดเข้าข้างตนเอง เพราะชอบ จึงเพิ่มอัตตาตนเองโดยไม่รู้ตัว ความคิด ส่วนมากมีแต่ผิด เพราะคิดเข้าข้างตนเอง เป็นทิฐิ เต็มไปด้วยอัตตา แต่การรู้ การเห็นความจริง ด้วยปัญญา มันต้องลงมือกระทำ จนเห็นผล เห็นเหตุ-ปัจจัยในการเกิด เห็นเหตุ-ปัจจัยในการดับ และเห็นผลที่เกิดขึ้น เป็นกุศล ไม่ทำให้ใครเดิอดร้อน เป็นผลดีต่อการดำรงชีวิต และเป็นความจริงในสิ่งที่กระทำนั้น ๆ ทุกวันนี้ เวลาสอนพนักงานจะเน้นเสมอ การทำงาน การออกแบบ อย่าใช้วิธีคิดเอา เพราะถ้าคิดมีแต่ผิด คิดเอง เออเอง ว่าดี ว่าถูก มันจึงพบว่าผิดเสมอ เราต้องหาความจริงในงานนั้น ในการออกแบบนั้นด้วยการลงมือกระทำเอาเอง ให้เห็นความจริง นั้น ๆ ด้วยปัญญาตนเอง เพราะมันเป็นของจริงที่มีอยู่ ที่จะค้นพบได้ด้วยตนเอง ตอบตนเองได้ จนหมดข้อสงสัย ความจริง ก็คือความจริง คิดเอาไม่ได้ ความจริง ต้องหาเอาเองด้วยการกระทำจนพบความจริงนั้นด้วยปัญญาตนเอง เท่านั้นแล สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16943 เมื่อ: 11 ตุลาคม 2561, 09:32:48 » |
|
เทศน์มหาชาติ พระเวสสันดรชาดก วัดพระนอน พระพุทธองค์ ทรงตรัสรู้ด้วยพระปัญญาตนเอง จากการปฏิบัติ เจริญสติปัฏฐาน ๔ จนเป็นสมาธิ จนรู้ในสิ่งที่ประกอบเป็นรูป-นาม เป็นเบื้องต้น พระพุทธองค์ ไม่ได้ทรงคิดขึ้นเอง แต่ทรงเห็นความจริง ที่มีอยู่จริง ด้วยพระปัญญา จากการปฏิบัติ เป็นพระองค์แรก เราทุกคนเป็นศิษย์ท่าน รู้มนเบื้องต้นในรูป-นาม นั้นแล้วจากการอ่าน จากการฟัง เราสามารถปฏิบัติตามท่าน จะเห็นความจริง ในรูป-นาม ได้เช่นกัน ซึ่งเป็นพื้นฐาน อละแนวทางในการพ้นทุกข์ ต่อไป จะมีชีวิตที่ดีขึ้น ไม่ได้หวังเป็นพระอริยะบุคคล อันใด ก็สุขได้ ความคิด มีแต่ทางที่ผิด แต่เห็นความจริง ถูกต้องเสมอ เพราะความจริง นั้นมีอยู่จริง ต้องรู้ด้วยการลงมือกระทำด้วยตนเอง แต่ความคิดไม่ต้องลงมือ มันก็คิด และคิดเข้าข้างตนเองเสมอ มันจึงไม่เป็นจริง แต่ความคิดจะเป็นจริงได้ ต้องตรวจสอบตามหลักกาลามะสูตร อย่างไรก็ตาม เราก็ต้องอยู่กับความคิด ใช้ความคิด ในการดำรงชีวิต แต่ให้เห็นมันคิด และใช้ปัญญา ไม่ทำให้ใครเดิอดร้อน ก็อยู่กันได้ ทั้งรูป ทั้งนาม ธรรมชาติมันเป็นมาแบบนี้ สวัสดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16944 เมื่อ: 15 ตุลาคม 2561, 06:56:10 » |
|
ครบ ๑๕ ปี แล้วหรือ www.cmadong.comแต่อนิจจา มันหมดยุค แล้ว ย่อมเสื่อไปเป็นธรรมดา มีแต่อดีต! สวัสดีครับ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16945 เมื่อ: 16 ตุลาคม 2561, 08:54:36 » |
|
วัดเบญจมบพิตรฯ ถ่ายภาพโดย ศุภลักษณ์ กลับดี สวัสดี ทุกท่านครับ ปีนี้ กฐินวัดพระนอน วัดพระนอน จะทอดในวันอาทิตย์ที่ ๑๘ พฤศจิกายน ได้รับความเมตตา จากคุณราเมศวร์ ศิลปพรหม รับเป็นประธานให้ ได้รับความเมตตาจาก คณะกรรมการสมาคมนิสิตเก่าหอพัก นิสิต จุฬาฯ - พี่เก่าหอพักนิสิต จุฬาฯ และได้รับความเมตตาจากท่านอาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี ร่วมเป็น รองประธานกรรมการ มาทอดกฐิน วัดพระนอน เพื่อรวบรวมปัจจัยในการก่อสร้างศาลา หลังใหม่ ทดแทนศาลาหลังเก่าที่ถูกน้ำท่วมปี 2540 จนคอนกรีตเสื่อมคุณภาพ เหล็กเป็นสนิม กมดอายุการใช้งาน เพราะปีนั้น น้ำท่วมนานมากสิงเดือนกว่า ศาลาหลังเก่าออกแบบโดยช่างโบราณ ช่างแก้ว-ช่างชิด กลับดี ที่สบักชื่อเอาไว้ที่เสาใต้ถุนศาลา ใช้งานมาเท่ากับประมาณอายุผม คือ 67 ปี ศาลาหลังใหม่ ได้รับความเมตตาจากท่านอาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี ออกแบบให้ใหม่ และมร ดร.สุริยา ทัศนียานนท์ เป็นวิศวกรโครงสร้าง เรียนเชิญ ทุกท่านมาร่วมทอดกฐิน วัดพระนอน ด้วยกันครับ ขอบพระคุณมาก มานพ กลับดี
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16946 เมื่อ: 18 ตุลาคม 2561, 08:27:18 » |
|
ทุกวันนี้ เวลากลับบ้านไปทำบุญที่วัด หรือทุกที่ ที่ไป ได้รับความเมตตา ข่วยเหลือจากทุกท่านเสมอ เป็นอย่างดี เขาเหล่านั้น หวังอะไร? กับเรา จึงทำดีกับเราถึงเพียงนี้ เขาคงหวังในทางธรรม จากเรา! จึงทำให้ตนเอง ต้องเร่งทำความเพียร กระทำแต่สิ่งที่ดี ก่อกุศล ดำรงตนอยู่ในศีล ยึดถือทางสายเอก เป็นสำคัญ เพื่อตอบแทนทุกท่านที่เมตตาเสมอมา ทางสายเอกประกอบด้วย - ศรัทธา - ศีล - อยู่อย่างพอเพียง - เพียรในทางสร้างกุศล - มีสติ - ทำสติให้เป็นสมาธิ - ปัญญา สวัสดี ทุกท่านครับ
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16947 เมื่อ: 18 ตุลาคม 2561, 19:14:03 » |
|
อริยทรัพย์ ๗ อันประเสริฐ [292] อริยทรัพย์ 7 (ทรัพย์อันประเสริฐ, ทรัพย์คือคุณธรรมประจำใจอย่างประเสริฐ — noble treasures) 1. ศรัทธา (ความเชื่อที่มีเหตุผล มั่นใจในหลักที่ถือและในการดีที่ทำ — confidence) 2. ศีล (การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ประพฤติถูกต้องดีงาม — morality; good conduct; virtue) 3. หิริ (ความละอายใจต่อการทำความชั่ว — moral shame; conscience) 4. โอตตัปปะ (ความเกรงกลัวต่อความชั่ว — moral dread; fear-to-err) 5. พาหุสัจจะ (ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก — great learning) 6. จาคะ (ความเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ — liberality) 7. ปัญญา (ความรู้ความเข้าใจถ่องแท้ในเหตุผล ดีชั่ว ถูกผิด คุณโทษ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ รู้คิด รู้พิจารณา และรู้ที่จะจัดทำ — wisdom) อริยทรัพย์ เป็นทรัพย์อันประเสริฐอยู่ภายในจิตใจ ดีกว่าทรัพย์ภายนอกเพราะไม่มีผู้ใดแย่งชิง ไม่สูญหายไปด้วยภัยอันตรายต่างๆ ทำใจให้ไม่อ้างว้าง ยากจน และเป็นทุนสร้างทรัพย์ภายนอกได้ด้วย ธรรม 7 นี้ เรียกอีกอย่างว่า พหุการธรรม หรือ ธรรมมีอุปการะมาก (virtues of great assistance; D.III.282; ที.ปา. 11/433/310) เพราะเป็นกำลังหนุนช่วยส่งเสริมในการบำเพ็ญคุณธรรมต่างๆ ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นให้สำเร็จได้อย่างกว้างขวางไพบูลย์ เปรียบเหมือนคนมีทรัพย์มาก ย่อมสามารถใช้จ่ายทรัพย์เลี้ยงตนเลี้ยงผู้อื่นให้มีความสุข และบำเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ได้เป็นอันมาก.
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16948 เมื่อ: 18 ตุลาคม 2561, 20:36:51 » |
|
|
|
|
|
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์
รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644
|
|
« ตอบ #16949 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2561, 07:10:23 » |
|
มีขำขันเรื่องหนึ่งเล่ากันมาว่า ชายคนหนึ่งขับรถชนเสาไฟฟ้าอย่างแรงบนถนนสุขุมวิท คนขับตะกุยตะกายออกมาจากรถ พอเห็นสภาพรถบุบบี้ยับเยินก็ร้องว่า “โอ๊ย !!! เบนฃ์ของฉัน เบนฃ์ของฉัน“ ลุงคนหนึ่งซึ่งอยู่ใกล้เหตุการณ์ เห็นเช่นนั้นจึงพูดขึ้นว่า “พ่อหนุ่ม ห่วงรถเบนฃ์ ของเธอทำไม ? ห่วงแขนของเธอดีกว่า โน่นแขนของเธอกระเด็นไปอยู่โน่นแล้ว “ ชายหนุ่มมองไปตามที่ลุงคนนั้นชี้ พอเห็นแขนของตัวก็ร้องลั่นว่า “โอ๊ย ! โรเล็กฃ์ของฉัน โรเล็กฃ์ของฉัน “ นี่เป็นขำขันที่เหมาะกับยุคบริโภคนิยมในเวลานี้มาก เพราะผู้คนนับวันจะเห็นวัตถุสำคัญยิ่งกว่าอวัยวะ เห็นทรัพย์มีค่ามากกว่าชีวิต โดยเฉพาะถ้าเป็นวัตถุหรือสินค้าที่ติดยี่ห้อดังด้วยแล้ว เขายอมทำทุกอย่างเพื่อให้ได้มาหรือรักษามันเอาไว้ เมื่อไม่กี่ปีก่อนคงได้ยินข่าวว่าวัยรุ่นคนหนึ่งในอเมริกายอมลงทุนฆ่าคนที่อายุไล่ ๆ กันเพราะต้องการได้รองเท้ายี่ห้อไนกี้ที่เด็กคนนั้นใส่ ถ้าเด็กคนนั้นใส่รองเท้ายี่ห้อบาจา เขาคงไม่สนใจ นี่เป็นลักษณะเด่นของยุคบริโภคนิยมในปัจจุบัน คือ นอกจากจะเห็นว่าความสุขอยู่ที่การบริโภคหรือการได้ครอบครองวัตถุแล้ว ยังมีแนวโน้มที่จะยึดติดหลงใหลกับแบรนด์เนมหรือยี่ห้อ เพราะมันเกี่ยวโยงกับภาพลักษณ์ของตน คือช่วยทำให้ภาพลักษณ์ของตัวดูดี และทำให้รู้สึกภูมิใจกับตัวเอง เห็นว่าตัวเองมีคุณค่าขึ้นมา ตักบาตรเทโว วันออกพรรษา วัดพระนอน
|
|
|
|
|