24 พฤศจิกายน 2567, 00:13:10
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 159 160 [161] 162 163 ... 727   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: Greeting From Germany part VI-ต่อกับ Part II ....What a Day!  (อ่าน 2552704 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 19 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4000 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 16:55:09 »

เหล่าสุนัข..ไม่ได้มองเครื่องบินคะ
มองน้ำที่ซ.พหลโยธิน ๕๘



คนงานติดตั้งเครื่องปั๊มน้ำใหม่เอี่ยม
ที่สมุทรสาคร ทางลงของน้ำ
จากคลองบางน้ำจืดลงคลองมหาชัย



ถึงที่ไหนในกรุงเทพจะน้ำลด
แต่ท่าอากาศยานดอนเมืองยัง..
อย่างที่เห็นคะ!
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4001 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:04:45 »

ชาวบ้านเขตลำลูกกา(บ้านเพื่อนsheค่า)
ปทุมธานี รวมตัวกันไปทะลายถุงทราย



ชาวบ้านนอกเขตbig bag barrierไม่พอใจ
โมโหสุดขีด..สาดน้ำท่วมใส่จนท.ในระหว่าง
ตกลงข้อพิพาทbig bagใกล้ศูนย์ควบคุมการบิน
ถนนวิภาวดี



เขตดอนเมืองไม่น้อยหน้า..20กลุ่มที่น้ำท้วม
รวมตัวไปแกะถุงทรายใหญ่ big bag barrier
ต้านกับคำสั่งห้ามทำลายของFROC...
ใครจะทำไม



      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4002 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:12:30 »

พอbig bag ทะลาย..
น้ำก็เชี่ยวไหลลงไหลลง
ที่ถนนวิภาวดี




อาสาสมัครจากคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ไปฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่(Influenza)ที่
สโมสรกองทัพบก ถนนวิภาวดีรังสิต


http://www.bangkokpost.com/multimedia/photo/266906/photos-of-the-week

      บันทึกการเข้า


เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #4003 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:19:39 »

NN

เป็นท่อนาค (หรือเรียก ท่อพญานาค เป็นท่อเหล็ก) ขนาด 6 นิ้ว แต่มองไม่เห็นเครื่องยนต์ที่ใช้ฉุด
ภายในท่อนาคจะเป็นสกรู หมุนด้วยแรงฉุด เพื่อปั่นเอาน้ำขึ้นมาจากด้านปลายท่อ (ปกติ-หมุนเวียนขวา)
ท่อนาคใช้สายพานต่อเครื่องยนต์แรงต่ำในการฉุดน้ำออก เครื่องคูโบต้า หรือ ยันม่าร์ ขนาดเล็ก เป็นตัวฉุด
วางเรียงแบบนี้ อยากเห็นวิธีการต่อเข้ากับเครื่องยนต์
มากขนาดนี้ น่าจะเอาอยู่จ๊ะ



มีรูปต่อเข้ากับเครื่องยนต์มั๊ย?? พี่อยากเห็น เพราะนาค 1 ตัวจะใช้เครื่อง 1 เครื่องเป็นตัวฉุด



แต่ท่อนาคขนาด 6 นิ้ว สามารถต่อด้วยท่องูเหลือม (ท่อผ้า หรือท่อที่เย็บด้วยผ้าพลาสติด) ขนาด 8 - 10 นิ้ว
ทำให้สามารถส่งน้ำออกไปได้มาก โดยใช้น้ำมันดีเซลเพียง 20-30 ลิตร/วันเท่านั้น







      บันทึกการเข้า
Uncle Na
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2524-2201
คณะ: นิเทศ
กระทู้: 4,957

« ตอบ #4004 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:27:41 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2554, 16:33:59
The Flood Expert..

really?
it has to be flooded in the future?
Uooo-haaaaa


<a href="http://122.155.18.14/~zp00000612/mediaplayer.swf?file=http://media1.bangkokpost.com/flvstreaming/C5E07ADA3AA54E86ACE2E3AFBD6F7C0B.flv" target="_blank">http://122.155.18.14/~zp00000612/mediaplayer.swf?file=http://media1.bangkokpost.com/flvstreaming/C5E07ADA3AA54E86ACE2E3AFBD6F7C0B.flv</a>

http://www.bangkokpost.com/multimedia/vdo
NN ไม่เฉพาะบางบัวทอง  สายไหมก็มีด้วย ข่าวน้ำท่วมเมืองไทยดูจากกระทู้เยอรมัน ที่นี่ ตรงใจมากกว่า ..
      บันทึกการเข้า

จิตใจที่จุดประกายแล้ว คือทรัพยากรที่ทรงพลังที่สุดบนพิภพ เหนือพิภพ และใต้พิภพ/จิตวิญญาณมุ่งมั่นที่ไม่ยอมแพ้/ โดย เอพีเจ อับดุล กาลัม/สุวิทย์ วิบูลเศรษฐ์  แปล
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4005 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:31:44 »

อ้างถึง
ข้อความของ เหยง 16 เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2554, 17:19:39
NN

เป็นท่อนาค (พญานคร) ขนาด 6 นิ้ว แต่มองไม่เห็นเครื่องยนต์ที่ใช้ฉุด
ท่อนาคใช้สายพานต่อเครื่องยนต์แรงต่ำในการฉุดน้ำออก เครื่องคูโบต้า หรือ ยันม่าร์ ขนาดเล็ก เป็นตัวฉุด
วางเรียงแบบนี้ อยากเห็นวิธีการต่อเข้ากับเครื่องยนต์
มากขนาดนี้ น่าจะเอาอยู่จ๊ะ



มีรูปต่อเข้ากับเครื่องยนต์มั๊ย?? พี่อยากเห็น เพราะนาค 1 ตัวจะใช้เครื่อง 1 เครื่องเป็นตัวฉุด



แต่ท่อนาคขนาด 6 นิ้ว สามารถต่อด้วยท่องูเหลือม (ท่อผ้า หรือท่อที่เย็บด้วยผ้าพลาสติด) ขนาด 8 - 10 นิ้ว
ทำให้สามารถส่งน้ำออกไปได้มาก โดยใช้น้ำมันดีเซลเพียง 20-30 ลิตร/วันเท่านั้น








พี่เหยง,
มีรูปเดียวคะจาก Bangkok Post
เดี๋ยวค้นจากที่อื่นดูพี่ แม้ไม่แน่ใจค่ะ
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4006 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:37:01 »

อ้างถึง
ข้อความของ Uncle Na เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2554, 17:27:41
อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 22 พฤศจิกายน 2554, 16:33:59
The Flood Expert..

really?
it has to be flooded in the future?
Uooo-haaaaa


<a href="http://122.155.18.14/~zp00000612/mediaplayer.swf?file=http://media1.bangkokpost.com/flvstreaming/C5E07ADA3AA54E86ACE2E3AFBD6F7C0B.flv" target="_blank">http://122.155.18.14/~zp00000612/mediaplayer.swf?file=http://media1.bangkokpost.com/flvstreaming/C5E07ADA3AA54E86ACE2E3AFBD6F7C0B.flv</a>

http://www.bangkokpost.com/multimedia/vdo
NN ไม่เฉพาะบางบัวทอง  สายไหมก็มีด้วย ข่าวน้ำท่วมเมืองไทยดูจากกระทู้เยอรมัน ที่นี่ ตรงใจมากกว่า ..


พี่ณะ,
ข่าวมีอยู่เรื่อยๆคะ
แม้ไม่มาก.

จริงเหรอพี่ที่พวกแดงชุมนุม
สนับสนุนการอภัยโทษนักโทษ
ที่ดูไบ พี่ชายของนายกยิ่งเละ เอ๊ย,
ยิ่งลักษณ์?
พี่คนไทยเค้าค้นลึก ว่าอาจไม่สงบ
หลังน้ำลด.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4007 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 17:46:24 »

จะหาฟิล์ม Together We Can projectของ BMA
..
..
พบว่างั้นๆ!
..
..
ไปเจอะฟิล์มน่าสนใจ
จีนจากมุมมองของอเมริกัน
History of China: The Roots of Madness - CIA Cold War Documentary Film (1967)

เพื่อทำให้จีนดู...บร้าาาไปแล้ว
ต้องรู้เท่าทันคะพี่น้อง.
documentationนี้ downloadเมื่อ
15 May  2011...1 ชม.17 นาที

รับชมคะ
http://youtu.be/EvRpwp00Pwc

http://www.youtube.com/watch?v=EvRpwp00Pwc&feature=fvsr



<a href="http://www.youtube.com/v/EvRpwp00Pwc?version=3&amp;amp;hl=en_GB" target="_blank">http://www.youtube.com/v/EvRpwp00Pwc?version=3&amp;amp;hl=en_GB</a>
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4008 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 18:42:04 »

ได้อ่านกันรึยังคะพี่น้อง?
ได้มาเมื่อ 20 พย.
เพิ่งตรวจmailboxวันนี้





http://www.facebook.com/bangkokpostlearning#!/photo.php?fbid=320884627938064&set=pu.231821570177704&type=1&theater
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4009 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 18:52:19 »

พี่เหยงคะ,
Samut sakhon floodwayยังหาไม่เจอ
เจอแต่ Floodway project ใน 3 ปี
200 km.คิดโดยจุฬาฯ
เย้





http://www.thaivisa.com/forum/topic/512402-proposal-for-200km-floodway-thailand/
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4010 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 18:59:35 »

* Angry residents make demands [Bangkok Post: 20/11/2011]

Anond Snidvongs and Froc spokesman Pol Gen Dr Pongsathat Pongcharoen
appeared on NBT about and spoke about demands by angry residents in Lam Luk Ka,
 Rangsit, Don Muang and Nonthaburi areas. …

Dr Anond noted that Sam Khok,  Lat Lum Kaeo in Pathum Thani, Bang Bua Thong
and Bang Yai in Nonthaburi saw no flood remission. A lot of water remains in the fields. …




http://poleshift.ning.com/profiles/blogs/maps-of-flood-risk-area-in-bangkok-as-of-1-november?id=3863141%3ABlogPost%3A798853&page=3
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4011 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 19:18:07 »

ยังอยู่ที่สมุทรสาคร..
ยังไม่ไปถึงไหนเลยคะพี่เหยง
มัวชมตลาดมหาชัยคะ
ปลาแห้ง ปลาเค็ม ปลาหมึก
น่ากินดีแท้!

http://www.topix.com/th/samut-sakhon?expandmap=1#gmap_anchor




<a href="http://www.youtube.com/v/1iXzFf5HSlk?version=3&amp;amp;hl=en_GB" target="_blank">http://www.youtube.com/v/1iXzFf5HSlk?version=3&amp;amp;hl=en_GB</a>
http://youtu.be/1iXzFf5HSlk
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4012 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 19:31:14 »

พี่เหยงใกล้แล้วคะ
ใกล้แล้ว...

http://www.bangkokpost.com/breakingnews/266925/samut-sakhon-now-safe


      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4013 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 19:44:45 »

Holy Mackerel
ปลาทูนึ่งยอดนิยม
ยามน้ำท่วม!

สงสัยจะเกี่ยวกะท่าฉลอม
ตลาดมหาชัยคะพี่เหยง
นี่นั่งน้ำลายหยดแหมะอยู่เนี่ยพี่.

http://www.bangkokpost.com/food/features/267057/holy-mackerel







      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4014 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 20:00:54 »

บอกแล้วคะพี่
ให้ค้น 1 sheได้มาเป็น10
Samut Sakhon Flood Area
simulator

http://www.youtube.com/user/csomporn#p/a/u/1/opA4MksCcFM

http://www.posttoday.com/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/120599/floods-samut-sakhon-factories-next



<a href="http://www.youtube.com/v/opA4MksCcFM?version=3&amp;amp;hl=en_GB" target="_blank">http://www.youtube.com/v/opA4MksCcFM?version=3&amp;amp;hl=en_GB</a>
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4015 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 20:06:32 »

คุณนี่ทำsimulatorน่าดูคะ
ขอชม.

http://youtu.be/9m9btozeEPo

http://www.youtube.com/user/csomporn#p/a/u/2/9m9btozeEPo




<a href="http://www.youtube.com/v/9m9btozeEPo?version=3&amp;amp;hl=en_GB" target="_blank">http://www.youtube.com/v/9m9btozeEPo?version=3&amp;amp;hl=en_GB</a>

      บันทึกการเข้า


Kaimook
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 7,132

« ตอบ #4016 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 22:52:44 »

 ปิ๊งๆ
      บันทึกการเข้า
เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #4017 เมื่อ: 22 พฤศจิกายน 2554, 23:06:07 »

NN

เห็นเขาต่อท่อ PVC เข้ากับปลายท่อนาคแล้ว แต่ไม่เห็นการติดตั้งเครื่องยนต์ อาจจะเพราะไกลไปนิดก็ได้


      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4018 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 04:38:33 »

พี่เหยงคะ,
ดูเหมือนจะมอเตอร์ใช้ไฟฟ้าห้อยอยู่
ตรงกลางที่ลูกศรชี้รึปล่าวคะพี่?
ถึงเรียงกันได้เป็นระเบียบเรียบร้อย
และติดๆกัน?

รูปหายากพอสมควรคะ.







ภาพนี้คะชัดดี


nn.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4019 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 04:52:24 »

พี่อ้อย,
มาพอดีทันหนิงมีอะไรมาฝากพี่แหน่ะคะ!




เป็นความเสียหายครั้งใหญ่จากมหาอุทกภัยที่ว่ากันว่าหนักที่สุดในรอบ 50 ปี
เชื่อว่าภาพที่อยู่อาศัยและโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากต้องอยู่ในสภาพ
จมบาดาล จะยังคงเป็นภาพติดตาคนไทยไปอีกพักใหญ่

แต่วิกฤตก็ย่อมมีวันจบ หลังจากสถานการณ์น้ำท่วมเริ่มคลี่คลาย กรุงเทพฯ
ปริมณฑล และอีกหลายจังหวัด จะต้องเข้าสู่โหมด "ซ่อมแซม" ขนานใหญ่
โดยก่อนหน้านี้ "อิสระ บุญยัง" นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรรประเมินว่า
น่าจะมีบ้านจัดสรรถูก น้ำท่วมกว่า 100,000 หลัง และถ้านับรวมถึงบ้านปลูกสร้างเอง
(นอกหมู่บ้านจัดสรร) และตึกแถว น่าจะมีบ้านทั่วประเทศถูกน้ำท่วมสูงถึง 500,000 หลัง




"ประชาชาติธุรกิจ" สำรวจราคาวัสดุหลัก-ค่าแรงที่จะต้องใช้ซ่อมแซมบ้าน
หลังน้ำลด และนำมาประมาณการค่าใช้จ่ายซ่อมบ้าน โดยพบว่าในกรุงเทพฯ
ปริมณฑลส่วนใหญ่ถูกน้ำท่วมสูงตั้งแต่ "หน้าแข้ง" จนถึง "หน้าอก"
หรือตั้งแต่ระดับกว่า 0.30-2.00 เมตร ซึ่งกรณีที่ท่วมขังตั้งแต่ 2-4 สัปดาห์ขึ้นไป
ก็มักจะสร้างความเสียหายให้กับส่วนต่าง ๆ อาทิ พื้น ผนัง ประตู หน้าต่าง
สวิตช์ไฟ ฯลฯ หรือแม้กระทั่งสนามหญ้าจึงควรสำรวจและเร่งซ่อมแซมทันที

"พื้นไม้-สี-วอลเปเปอร์" ไม่สู้น้ำ

"พื้น" ถือเป็นพื้นที่ส่วนแรกที่จะได้รับความเสียหายจากน้ำท่วม
ไม่ว่าน้ำจะท่วมแค่ไม่กี่เซนติเมตรก็ตาม วัสดุมักหนีไม่พ้น 1) กระเบื้อง 2)
ไม้ลามิเนตหรือไม้ปาร์เกต์ และ 3) หินอ่อนหรือหินแกรนิต



ในจำนวนวัสดุ 3 ตัวนี้ "กระเบื้อง" สามารถทนการแช่น้ำได้นาน
แต่อาจเกิดความเสียหายได้กรณีที่มีน้ำท่วมขังใต้พื้นดินเป็นจำนวนมาก
และเกิดแรงดันตามร่องจนทำให้แผ่นกระเบื้องล่อนเสียหายก็จำเป็นต้องเปลี่ยนใหม่

"ไม้ลามิเนต-ไม้ปาร์เกต์" ไม่สามารถ ทนน้ำได้ หากถูกน้ำท่วมไม่กี่ชั่วโมง
มีโอกาสหลุดล่อนหรือเกิดเชื้อราภายใน เนื้อไม้ได้ จึงควรรื้อออกและปูใหม่

ส่วน "หินอ่อน-หินแกรนิต" สามารถทนน้ำได้ แต่หากแช่น้ำเป็นเวลานาน
จะเกิดรอยด่าง สามารถแก้ไขโดยใช้เครื่องขัดซึ่งมีค่าแรงค่อนข้างสูง
เฉลี่ยตารางเมตรละ 400-500 บาท

ถัดมาคือ "ผนัง" วัสดุที่ใช้ส่วนใหญ่มี 2 แบบ 1) ทาสี และ 2) ติดวอลเปเปอร์

กรณีทาสีปัญหาที่ตามมาหลังน้ำท่วมประมาณ 2 สัปดาห์คือ คราบตะไคร่-เชื้อรา
และสีหลุดล่อน การซ่อมแซมต้องใช้แปรงขัดตะไคร่และเชื้อราออก ปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง
3-4 สัปดาห์จึงทาสีใหม่ และควรจะต้องทาสีผนังภายในและเพดานทุกด้านเพื่อ
ไม่ให้เกิดความแตกต่างระหว่างสีเก่าและใหม่ ส่วนผนังภายนอกหากน้ำไม่ได้ท่วม
สูงอาจขัดตะไคร่และเชื้อราออกก็เพียงพอ

ซึ่งกรณีที่จะซื้อสีมาทาเองในตลาดมีตั้งแต่ราคาถังละ 900-3,500 บาท
(ขนาดถัง 5 แกลลอน) มีหลักการคำนวณคือ สีถังใหญ่ขนาด 5 แกลลอน
จะทาได้พื้นที่ 30 ตารางเมตร และจะต้องทาทั้งหมด 2 ครั้ง
ส่วนบ้านหลังไหนที่ติด "วอลเปเปอร์" ก็ต้องบอกว่า...งานเข้า
 เพราะนอกจากจะเป็นรอยด่างยังมีความเสี่ยงเกิดเชื้อราสูง
จึงควรรื้อทิ้งทำความสะอาดทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์จึงค่อย
ทาน้ำยาฆ่าเชื้อราและปิดวอลเปเปอร์ใหม่


 


"ประตู-หน้าต่างไม้" เสี่ยงบวม

นอกจากพื้นแล้ว รายการต่อมาคือ "ประตูไม้" เป็นวัสดุอีกตัวที่มีโอกาส
เสียหายจากการบวมทำให้เปิด-ปิดลำบาก ถึงแม้มีน้ำท่วมขังภายใน
บ้านเพียงเล็กน้อย นอกจากการเปลี่ยนบานประตูใหม่ซึ่งมีราคาหลากหลาย
ตั้งแต่ประตูไม้อัดเริ่มต้นบานละ 1,000 บาท ประตูไม้เต็งราคาประมาณบานละ
4,000 บาท ไปจนถึงประตูไม้สักราคาบานละ 10,000-15,000 บาท
หากไม่เน้นเรื่องความสวยงามมากนักอาจใช้วิธีไสหรือเลื่อยไม้ส่วนที่บวมออกก็ได้

ส่วนถ้าระดับท่วมสูงเกินกว่า 0.80 เมตร "หน้าต่างไม้" ก็มีโอกาสถูกน้ำและบวมได้
การซ่อมแซมคือเปลี่ยนหรือไส-เลื่อยส่วนที่บวมออกเช่นเดียวกัน

"สวิตช์ไฟ-สนามหญ้า" อย่าละเลย

จากพื้นและผนัง หากบ้านถูกน้ำท่วมตั้งแต่ 0.80-1.00 เมตร
สวิตช์ไฟมักเป็นจุดที่เสียหายถูกน้ำเข้า การแก้ไขเบื้องต้นให้สับคัตเอาต์
เปิดฝาครอบสวิตช์ออก และทำความสะอาดแผงสวิตช์ให้แห้งและทิ้งไว้ 3-5 วัน

หากที่บ้านมีคัตเอาต์หรือเซฟ-ที-คัทให้ทดลองเปิด-ปิดสวิตช์ดู
หากไม่สามารถใช้งานได้ก็ต้องเปลี่ยนแผงสวิตช์ใหม่ ซึ่งมีราคา
ตั้งแต่ชุดละ 100-500 บาทแล้วแต่ยี่ห้อ และค่าแรงอีกจุดละประมาณ 100 บาท

ส่วนถ้าเป็นบ้านเดี่ยวที่มีพื้นที่สนามหญ้าในรั้วบ้าน หญ้าที่ถูกแช่น้ำนาน 2-4 สัปดาห์
มีโอกาสจะตายได้ หากไม่สามารถระบายน้ำออกได้ทันก็จำเป็นต้องปูหญ้ากันใหม่
โดยเฉลี่ยการปูหญ้าจะเป็นการเหมาพร้อมค่าแรงเริ่มต้นตารางเมตรละ 100 บาทขึ้นไป

นอกจากนี้ ยังมีงาน "รั้วไม้" ที่อาจจะเกิดสีลอกล่อนหรือเป็นตะไคร่สามารถ
ขัดออกและซื้อสีทาไม้มาทาเองได้ มีราคาเริ่มต้นกระป๋องละ 300-1,000 บาท

เบ็ดเสร็จหากน้ำท่วมบ้านในระดับ 0.30-0.50 เมตร ก็จะมีค่าใช้จ่ายซ่อมแซม
เริ่มต้น 30,000-110,000 บาท (ขึ้นกับวัสดุที่เปลี่ยนใหม่)
ส่วนถ้าท่วมระดับ 1.00-2.00 เมตร ก็จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเป็น 65,000-145,000 บาท



 





   

 http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1321940176&grpid=09&catid=&subcatid=
 
 

      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4020 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 05:02:01 »

ปิดคู่มือ "ทำความสะอาดบ้าน" ฉบับเข้มข้น ขจัดคราบน้ำท่วม "ด้วยตัวเอง"



ถึงตอนนี้ระดับน้ำในหลายพื้นที่เริ่มลดลง ผู้คนเริ่มทยอยกลับเข้าบ้าน

บ้านหลังเดิมที่อาจจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป สำหรับบ้านที่ไม่ได้ยกข้าวของ

เครื่องใช้ก่อนเผ่นออกจากบ้าน อาจจะต้องทำใจสักพักหนึ่ง

ก่อนจะก้าวเข้าไปชมผลงานที่น้องน้ำฝากไว้

น้ำจอมพลังที่อาจจะเคลื่อนย้ายทุกสิ่งทุกอย่างในบ้าน โยกไปคนละทิศละทาง
กองระเกะระกะอยู่ทั่วบ้าน สภาพไม่เหมือนเดิมแน่นอน หรืออาจจะแค่
ฝากคราบสกปรกไว้ตามพื้น ผนัง และขอบโต๊ะเก้าอี้ ขึ้นอยู่กับระดับน้ำและระยะเวลาที่น้ำคงอยู่

ฉะนั้น ควรตั้งสติให้มั่นแล้วค่อย ๆ เดินกลับเข้าบ้านอย่างระมัดระวัง

มีขั้นตอนและวิธีการที่จะเข้าไปจัดการบ้านหรือที่อยู่อาศัย หลังจากที่น้ำท่วมขัง
มาเป็นเวลานานนับเดือนนั้น ซึ่งมีรายละเอียดมากมายที่ต้องจัดการอย่างระมัดระวัง

กมลพรรณ (กอวัฒนา) นุชผ่องใส กรรมการรองผู้จัดการ บริษัท ฟาร์อีสต์ เพียร์เลส (ไทยแลนด์)
1968 จำกัด ผู้เชี่ยวชาญในการทำความสะอาดแบบครบวงจรมานานกว่า 40 ปี
แนะนำวิธีทำความสะอาดบ้านหลังน้ำลดด้วยตัวเองไว้อย่างน่าสนใจ

เตรียมพร้อมก่อนเข้าบ้าน

เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม อาทิ แว่นตาช่าง, หน้ากากกรองฝุ่น, ผ้าปิดปากปิดจมูก,
ถุงมือยาง, รองเท้าบูต, ไฟฉาย และหมวกนิรภัย

จากนั้นแต่งกายให้พร้อมก่อนเข้าไปในตัวบ้าน สิ่งสำคัญคือห้ามประมาท
และอย่าเข้าไปคนเดียว ต้องมีคนไปเป็นเพื่อน และต้องมีคนรออยู่ด้านนอก
เผื่อเกิดเหตุฉุกเฉินที่ไม่คาดคิดขึ้น

ขั้นตอนก่อนเข้าไปยังตัวบ้านให้ปฏิบัติดังนี้

1.ก่อนเข้าไปในตัวอาคารบ้านเรือน ให้เดินดูบริเวณรอบ ๆ บ้านก่อน
โดยสำรวจพิจารณาดูโครงสร้างที่อาจจะเสียหายเป็นอันตรายก่อนตัดสินใจที่จะเข้าไป

2.ระวังเรื่องสัตว์มีพิษต่าง ๆ ที่อาจหนีน้ำเข้าไปอาศัยอยู่ในตัวบ้าน

3.สังเกตดูรอยร้าว หรือการบิดตัวของโครงสร้างก่อนตัดสินใจเข้าไป

4.ตรวจดูที่จัดเก็บถังแก๊ส มองหาสิ่งผิดปกติที่อาจจะมีการรั่วซึม

5.ตรวจสอบการจ่ายไฟให้แน่ใจว่า ไฟฟ้ายังไม่ได้จ่ายกระแสเข้าไปในบ้าน
โดยการดูที่คัตเอาต์ว่ายังมีการสับสวิตช์ลงอยู่หรือไม่

6.เปิดประตูให้เกิดการถ่ายเทอากาศ อย่าเหยียบเข้าบ้านทันที ให้สังเกตพื้นบ้าน
ลองค่อย ๆ ใช้เท้าทิ้งน้ำหนักเพื่อทดสอบก่อน

7.สังเกตดูเพดานว่ามีการอมน้ำ แอ่นท้องช้าง หรือมีคราบน้ำอยู่หรือไม่
เพราะเพดานอาจพังทลายลงมาได้เมื่อมีการเคลื่อนไหวให้ระมัดระวัง

ตรวจเช็กเชื้อโรค-ระบบไฟฟ้า

ขั้นตอนของการทำความสะอาด ต้องใช้เวลาและความอดทนอย่างมาก

"ต้องคำนึงถึงการกำจัดการฆ่าเชื้อโรคเชื้อราที่เราอาจมองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า
จากการสัมผัสหรือหายใจเอาเชื้อเหล่านี้เข้าไปโดยไม่รู้ตัว" กมลพรรณย้ำ

ดังนั้น ต้องคำนึงถึงการป้องกันตนเอง เช่น การใส่ถุงมือยาง และรองเท้าบูต
ที่จะช่วยป้องกันการติดเชื้อโรคเชื้อรา, ป้องกันการสัมผัสสารเคมี รวมถึงป้องกันไฟดูด
รวมทั้งคาดผ้าปิดจมูกและปากที่ช่วยป้องกันการหายใจเอาสปอร์ของเชื้อรา
และไอระเหยของสารเคมีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ

ในระหว่างการทำ ความสะอาดควรเปิดประตูหน้าต่างให้อากาศระบายได้มากที่สุด
โดยอาจเปิดพัดลมเพดานช่วยระบายอากาศ

ข้อห้ามคือ ห้ามเปิดเครื่องปรับอากาศ เพราะเชื้อโรคต่าง ๆ จะถูกดูดเข้าไปอยู่
ในระบบปรับอากาศ และจะกลายเป็นที่เพาะพันธุ์เชื้อราต่อไป ถือเป็นภัยเงียบที่เรามองไม่เห็น

จากนั้นก็มาเริ่มที่ระบบไฟฟ้าของทั้งบ้าน ซึ่งจะต้องถูกปิดทันทีที่น้ำท่วมบ้าน
ดังนั้นระบบไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งแรก ๆ ที่จะต้องจัดการทันทีที่น้ำลด โดยให้ช่างไฟฟ้า
มืออาชีพมาตรวจสอบและซ่อมแซมให้หมดก่อนจึงจะสามารถกลับไปใช้ไฟฟ้าได้

บางครั้งจำเป็นอย่างมากที่จะต้องเดินสายไฟใหม่ทั้งหมด และสายไฟจะต้องแห้งสนิท
 รวมทั้งสวิตช์ไฟ, เต้าเสียบปลั๊กไฟต่าง ๆ ที่จมอยู่ใต้น้ำอาจจะมีโคลนตมและตะกอน
ที่มากับน้ำเข้าไปอยู่ จึงต้องมีการตรวจเช็กระบบอย่างละเอียด

ระบบเครื่องปรับอากาศ หลังน้ำลดต้องเรียกช่างแอร์มืออาชีพมาตรวจเช็กระบบ
เครื่องปรับอากาศภายในบ้านทั้งหมด พร้อมทั้งทำความสะอาดท่อ

ต่าง ๆ, แผ่นกรองอากาศ เปลี่ยนฉนวนกันความร้อนที่จมน้ำ ฯลฯ เมื่อช่างแก้ไข
ให้เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ซีลปิดไว้ก่อนจึงจะเริ่มการทำความสะอาดบ้าน


อย่าลืมว่าก่อนจะเปิดเครื่องปรับอากาศต้องทำความสะอาดบ้านจนเสร็จ
เรียบร้อยพร้อมกลับเข้าไปอยู่แล้วเท่านั้น

ถึงเวลาลงมือทำ

หลังจากตรวจเช็กทุกอย่างจนแน่ใจแล้ว ก็มาถึงวิธีการทำความสะอาดขนานใหญ่
โดยเริ่มตามโปรแกรมดังนี้


1.เริ่มด้วยการขนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ภายในบ้านออกมาให้ได้มากที่สุด
 เพื่อสะดวกในการจัดการกับโคลนตมที่มากับน้ำ ให้ใช้พลั่วตักดินโคลนออกจากพื้นบ้านให้ได้มากที่สุด
จากนั้นจึงใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง (ถ้ามี) หรือสายยางฉีดน้ำเพื่อชะล้างโคลนออกจากพื้นผิว อุปกรณ์อย่างหนึ่งที่จะช่วยผ่อนแรงได้มากคือ ไม้ปาดน้ำ หากไม่มีและพื้นที่ไม่ใหญ่มากนัก สามารถใช้ผ้าขนหนูทำเป็นผ้าลากน้ำได้ โดยเน้นการกำจัดดินโคลนออกไปให้หมด

2.เรื่องของพื้น หากพื้นบ้านของท่านมีการใช้วัสดุต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ไวนิล, เสื่อน้ำมัน, พรม, ปาร์เกต์ ฯลฯ มีความจำเป็นที่จะต้องรื้อวัสดุปูพื้นเหล่านั้นออกเพื่อให้พื้นด้านล่างแห้ง ซึ่งกว่าจะแห้งสนิทอาจใช้ระยะเวลานานพอสมควร

การทำความสะอาดพื้นทุกชนิด ต้องพิจารณาดูตามความเหมาะสมของพื้น โดยทั่วไป ๆ สามารถใช้น้ำผสมคลอรีนในอัตราส่วน 0.1% (1 CC ต่อน้ำ 1,000 CC) ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณก่อนแล้วจึงขัดถูพื้นด้วยน้ำยาล้างจานหรือผงซักฟอก ขัดถูให้ทั่วบริเวณแล้วจึงราดด้วยน้ำร้อนเดือด ๆ หรือใช้ผลิตภัณฑ์น้ำยาเคมีทำความสะอาดที่สามารถฆ่าเชื้อต่าง ๆ ได้ ซึ่งต้องอ่านฉลากวิธีใช้ให้ละเอียดและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

หากเป็นไปได้ควรใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่นที่เป็นสารชีวภาพเอนไซม์ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ กำจัดกลิ่น กำจัดคราบไขมันได้

ข้อดีกว่าผลิตภัณฑ์อื่น ๆ คือ สารชีวภาพเอนไซม์นั้นจะยังคงมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อที่จะเกิดขึ้นใหม่จากความชื้นต่อไปได้อีกนานประมาณ 3-6 เดือน ตราบที่พื้นยังมีความชื้นอยู่ และที่สำคัญสารชีวภาพเอนไซม์นั้นไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

สำหรับพื้นบ้านที่ปูพรม ถ้าพื้นบ้านที่ปูพรมจมอยู่ใต้น้ำท่วมหรือน้ำเสีย ควรจะตัดใจกำจัดทิ้งไปเพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ เพราะพรมเป็นแหล่งเพาะเชื้อราอย่างดี

การทำความสะอาดพรมด้วยตัวเองเป็นเรื่องยาก ต้องใช้มืออาชีพที่เชื่อถือได้ว่าจะใช้น้ำยาซักพรมที่ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่น และใช้เครื่องมือซักพรมชนิดพิเศษที่สามารถทำความสะอาดได้ล้ำลึก แต่ค่าใช้จ่ายในการทำความสะอาดค่อนข้างสูง ควรพิจารณาให้ดี




http://co120w.col120.mail.live.com/default.aspx#fid=1&fav=1&n=1045453916&mid=1e2b18c2-154b-11e1-884d-002264c24d08&fv=1
      บันทึกการเข้า


เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #4021 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 08:42:54 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2554, 04:38:33
พี่เหยงคะ,
ดูเหมือนจะมอเตอร์ใช้ไฟฟ้าห้อยอยู่
ตรงกลางที่ลูกศรชี้รึปล่าวคะพี่?
ถึงเรียงกันได้เป็นระเบียบเรียบร้อย
และติดๆกัน?

รูปหายากพอสมควรคะ.







ภาพนี้คะชัดดี


nn.

NN

ใช่แล้ว มอเตอร์ไฟฟ้าขนาดประมาณ 10 แรงม้า ชุดละ 10 ตัว
ประการสำคัญ ต้องใช้เครื่องปั่นไฟฟ้าเอง มิฉะนั้นจะผิดหวัง เพราะน้ำมา-ไฟฟ้าจะดับ
      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4022 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 22:06:52 »

พี่เหยงคะ,
เมื่อวันก่อน พี่คนไทยเค้าส่งบทความ
ของคุณนิวัติ กองเพียรไปให้อ่าน,
ในใจก็คุ้นชื่อเค้ามาก...กว่าจะถึงบางอ้อ
ว่าคือเกจินู้ด ที่หนิงเคยอ่านในมติชน
สมัยยังอยู่เมืองไทย...ได้เจอะบทความเค้า
ที่บรรยายการต้องหนีน้ำ แบบที่อยู่ดูน้ำเข้าบ้าน
ช่วงเดียวกะที่ท่วมบ้านแม่หนิงที่บางบัวทอง
19 ตุลา...อยู่ชั้นบนอยู่หลายอาทิตย์จนต้องออก
การบรรยายให้ผู้อ่านเห็นภาพ ได้ยินเสียงน้ำ
ที่พัดพาเฟอร์นิเจอร์ สมบัติของรักของหวง
หนังสือ สิ่งละอันพันละน้อยที่ระลึกไปรวมสุม
ปวดใจไปด้วยคะ...สำหรับคนรักหนังสือ.

อ่านไปอ่านมาย่อสุดท้ายก็ให้วกมาวิจารณ์
หุหุ...นายกยุคน้ำท้วมของเรา...

เค้ายังคมเหมือนเดิมคะ
ในแบบที่หนิงเคยนิยม
เมื่อ24-25ปีก่อน.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4023 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 23:06:23 »

วันนี้พี่คนไทยก็ส่งบทสัมภาษณ์ ดร.เสรี วงษ์มณฑา
เจาะใจเข้ามาให้อ่าน...ยาวใช้ได้คะพี่น้อง
ใครๆก็กินโต๊ะนายกน้ำท้วม2554เละตุ้มเป๊ะ
เดี๋ยวคะ,รอให้คนหมดจากทุกข์ภัยของการล้างบ้าน
ซ่อมเรือนก่อน...งานนี้มีแพะแน่.

ใครซะอีก...
ก็ชาวกทม./ปริมณฑลฮี้
แม้เรื่องน้ำนี้ เกิดกะสมัยใครก็ได้
นายกคนไหนก็ได้...ไม่เกิด!
ดั้นนนน มาเกิดช่วงนี้

คิดแล้วน่าสงสารคะ!

ปล๊าว,sheไม่สงสารนายกน้ำท้วม
sheสงสารผู้ที่ประสบเคราะห์ภัยน้ำท่วมต่างหาก
เพราะมันเข้าถึงจุดที่ลึกมากของความอ่อนไหว
..ชีวิตประจำวัน: ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม
ยารักษาโรค ความปลอดภัย...กว่าจะอู้ฟู้อูมฟูม
ได้เหมือนเก่า...เงินเท่าไหร่ถึงจะทำให้ทุกอย่าง
กลับมาเหมือนเดิม?
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #4024 เมื่อ: 23 พฤศจิกายน 2554, 23:23:10 »

ว่าแล้วเมื่อวาน,ปลาใหม่ที่ซื้อมา 5 ตัวช่วงaquariumน้ำขุ่น
ก็หมดลม หงายท้องแหงแก๋ลอยตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง...แบบ
2+2+1...ตัวสุดท้ายเมื่อวานคะ เพราะตอนไปคุยกะเค้าๆให้หยุด
ให้อาหาร 5 วันเพื่อ filterจะได้กรองน้ำโดยไม่มีอาหารตกค้าง
ปลาชุดเก่าก็อยู่ได้กับprogramme dietแต่ปลาเล็กที่ซื้อมาใหม่ฮี่..
ผิดที่ ผิดน้ำ ผิดแวดล้อม เลยแหงแก๋ม่องเท่ง ...เสียเงินฟรีๆ!

เมื่อวานว่าจะไปซื้อมาใส่ตู้ทดแทน..เค้าบอกว่าวัดค่าน้ำก่อน
ไม่ได้เก็บตัวอย่างไปก็เห็นน้ำใสดีแล้วนี่นา!เค้าว่าม่ายงั้น
ซื้อไปก็ตายอีก...เลยได้ซื้อต้นไม้น้ำaquariumมาปลูกแทน!
ก็ปลาปลาสิ พอไม่ให้อาหาร...พวกแทะต้นไม้น้ำซะ...เหี้ยน.

..
..
ขาออกมา อุว๊ายยยนั่น
หามานาน บ้านอาหารนกคะพี่น้อง
หลังเก่า she เคยมี paintสีฟ้ากะชมพู
แป๊นแล๊นอย่าบอกใคร...แขวนที่ต้นไม้
2-3ปีจนหลุดเป็นชิ้นๆ เก็บใส่เตาเผาไม่เหลือ
ตั้งใจ winterปีนี้ต้องหามาแขวนใหม่

ก็เจอะที่ร้านขายสัตว์...มีหลายราคาคะ
เกิน10 € sheก็ไม่เล่นด้วยเหมือนกัน!
ปรากฏหยิบอันนึงไปจ่ายเงิน กะจะมาทาสี
ให้เปรี้ยวสุดขีด...เดินออกมาจะไปที่รถ
ว๊ายยย ตาเหลือบไปเห็นอีกแบบนึง!
ไม่ไช่แบบทากาว/ยึดด้วยแม๊ค...ง่ายๆ
แต่เป็นแบบถอดมาเป็นชิ้นๆให้ไขน๊อตเอง

..
..
sheลิ่วกลับเข้าไปอย่างเร็ว
ขอแลกกะแบบใหม่ที่เพิ่งเห็น!
ก็ราคาเท่ากันคะพี่น้อง.
แถมซื้อเม็ดทานตะวันมาด้วย 2,5 kg.
winterนี้นกแถวบ้านsheไม่อดตาย!
      บันทึกการเข้า


  หน้า: 1 ... 159 160 [161] 162 163 ... 727   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

ทำไมหอพักนิสิตจุฬาจึงเป็นดินแดนมหัศจรรย์            " ไม่ได้เป็นแค่หอให้นอนพัก  แต่เป็นบ้านอบอุ่นรักให้อาศัย  ไม่เป็นแค่ที่ซุกหัวยามหลบภัย  แต่สร้างใจให้เข้มแข็งแกร่งการงาน"  <))))><