churaipatara
|
|
« ตอบ #12325 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 12:46:06 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การฆ่าตัวตาย ..เป็นปัญหาตลอดมาในด้านสุขภาพจิต มีการประมาณการณ์โดยองค์การอนามัยโลก
เมื่อปี1999 ว่าทั่วโลกมีการฆ่าตัวตายไม่น้อยกว่า1ล้านคนต่อปี ถือเป็นการสูญเสียด้านทรัพยากร -
มนุษย์โดยตรง และยังมีผลกระทบต่อจิตใจของญาติที่อยู่เบื้องหลัง ตลอดจนผู้ที่รับรู้เรื่องราว ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12326 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 12:47:14 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12327 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 12:51:17 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
บางครั้งถึงกับมีคนเอาเป็นแบบอย่างหรือเลียนแบบ โดยเฉพาะถ้าคนฆ่าตัวตายเป็นคนมีชื่อเสียงเช่น
นักร้องหรือดาราดังๆ จะมีข่าวว่าวัยรุ่นหรือผู้นิยมคนเหล่านี้ฆ่าตัวตายตาม ..ซึ่งดูแล้วก็น่าแปลกใจไม่-
น้อยสำหรับคนทั่วไป ว่าสาเหตุการฆ่าตัวตายคืออะไรกันแน่ มีการวิจัยมากมายเกี่ยวกับเรื่องนี้..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12328 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 12:53:53 » |
|
นั่งชมเพลินมากกเลย ..กับฟุตบอลไม่จำกัดจำนวนผู้เล่นค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12329 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 13:00:29 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
สาเหตุหลักๆคือ โรคซึมเศร้าที่รุนแรง จิตเภท บุคลิกภาพผิดปกติ การติดเหล้า หรือสารเสพติดอื่นๆ
การเจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรงทางกาย เช่น โรคมะเร็ง โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง / ความสูญเสียที่สำคัญ
เช่น คนรัก การงาน สุขภาพ เสียหน้าอย่างรุนแรงเสียชื่อเสียง/ฆ่าตัวตายเพื่อแก้แค้น โกรธ ประท้วง..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12330 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 13:02:23 » |
|
ท่านสี ผงผ่าน (คุณอาของดิ๊ค-ถาปัดเพื่อนเรา)ทำหน้าที่รักษาประตูอย่างเข้มแข็ง ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12331 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 13:12:33 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
../ได้รับผลกระทบจากความกลัว กลัวเสียศักดิ์ศรี การข่มขู่ หรือเพื่อหนีปัญหาที่จะตามมา / ฆ่าตัว
ตายเพื่อเสียสละตัวเอง เช่น ป่วยเรื้อรังกลัวจะเป็นภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัว / ความหลงเชื่อ ..
เช่น การรวมกันฆ่าตัวตายหมู่ / จิตใจบอบช้ำรุนแรง เช่น การถูกรุมข่มขืน การถูกทำร้ายร่างกาย -
อย่างยาวนาน ..
ปัญหาการฆ่าตัวตายของนักเรียนนักศึกษา ของลูกหลานบางครอบครัว ..จะแก้ไขได้อย่างไรคะ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12332 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 13:15:28 » |
|
เอิ่มม จำนวนผู้รักษาประตูอีกข้าง..ทำเอากรรมการกุมขมับ..เอ๋นั่งสนามหญ้ากับเด็กๆ ดูจนจบการแข่ง ขัน ยิ้ม-หัวเราะตลอด คนพากษ์ก็ทำหน้าดีจิงๆ .. ผลเป็นอย่างไรไม่มีใครใส่ใจ รู้แต่ว่าพ.สมทบชาย - หญิงที่ร่วมแข่งขันมีความสุขสนุกสนาน ลดวัยลงได้มากมาย..เอ๋สอบถามพ.สมทบอาวุโสชายท่านนึง เพราะประทับใจในลีลาการเตะ บางครั้งมีการสับขาหลอกด้วยนะคะ(ท่านตอบพร้อมรอยยิ้ม) "ผมไม่ได้ ออกกำลังกายหนักขนาดนี้นานแล้วนะ หัวใจทำงานหนักน่าดู แต่ก็สนุกมากเลย.."ลืมวัยลืมสุขภาพกัน เลยทีเดียวค่ะ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12333 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 13:19:39 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
มุมมองของSATIRต่อการฆ่าตัวตาย..เกือบทุกรายเกิดจากการที่ ทนไม่ไหว ต่อ ความเจ็บปวดทางจิต
ใจ ที่มากเกินไป คือ ต้องการจะหนีหรือหยุดความเจ็บปวดภายในจิตใจ ไม่ได้ต้องการที่จะตาย.. แต่-
ยอมรับและจัดการความเจ็บปวดไม่ได้ ถือว่า ความเจ็บปวดเป็นศัตรูของชีวิต ทำให้รู้สึกทุกข์ทรมาน..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12334 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 14:24:02 » |
|
พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนเป็นข้าราชการที่ดี ในวันที่๒ธันวาคม๒๕๕๖
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12335 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 14:34:16 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
คนฆ่าตัวตายไม่ได้ต้องการจะไปไหน แต่ทนอยู่ที่เดิมไม่ไหวแล้ว / การพยายามฆ่าตัวตายมาจากเหตุ-
ผลหลักคือไม่ได้รับการตอบสนองหรือเติมเต็ม /ความเจ็บปวดเกิดจากภายในใจมีความขัดแย้งระหว่าง
ความรู้สึก ความคิด ความต้องการ และความปรารถนา / คนเหล่านี้ไม่สามารถจัดการกับอารมณ์โกรธ
และอารมณ์อื่นๆของตนเอง..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12336 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 14:36:59 » |
|
ผู้ใหญ่ที่เอ๋รักนับถือ คุณอาถกลกรรค์ ตั้งจิตธรรม
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12337 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 15:50:29 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
คนที่คิดฆ่าตัวตายส่วนใหญ่รู้สึกว่าตัวเองไม่สามารถเชื่อมโยงกับความรู้สึก ความคิด พฤติกรรม และ
อาจไม่สามารถเชื่อมโยงกับตัวตนของเขา ..ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายมักมีลักษณะ มีคุณค่าในตัวเองต่ำ
มีทักษะปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นน้อย ในวัยเด็กมักไม่มีความสุขหรือถูกทำร้าย..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12338 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:00:39 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12339 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:06:45 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
คนเหล่านี้จะรู้สึกสิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และความรู้สึกสิ้นหวัง เป็นตัวบอกถึงการจะฆ่าตัวตาย
ได้ดีกว่าการมีอารมณ์เศร้า / มีผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ทำไปอย่างหุนหันพลัน -
แล่น / การช่วยคนเหล่านี้ต้องเข้าให้ถึงโลกภายในโลกส่วนตัวเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมุมมอง
และประสบการณ์ในใจของเขา..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12340 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:07:50 » |
|
ผู้พิพากษา-นายยุทธนา คุ้มมี
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12341 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:12:41 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การช่วยเหลือต้องจริงจัง ช่วยให้เกิดอารมณ์ด้านบวก จึงจะมีพลัง เช่น การทำให้เกิดความหวัง บาง-
ครั้งในตอนแรกผู้บำบัดคนเดียวที่ทำให้เห็นว่ามีความหวัง คือ การเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้เสมอ..ส่วน
ผู้ที่อยากจะตายไม่รู้สึกมีความหวังเลยในตอนแรก..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12342 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:14:39 » |
|
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลฯ-นายวีระ คงทวีเลิศ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12343 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:23:29 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การฆ่าตัวตาย สาเหตุหลักมาจากด้านจิตใจ../ มนุษย์ต้องอยู่ในบริบท จึงไม่ควรลืมที่จะเปลี่ยนแปลง
บริบทภายในและภายนอกไปด้วยกันเสมอ..
ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการช่วยเหลือรักษาการฆ่าตัวตาย ..น่าสนใจเรียนรู้นะคะ เพราะใช้ในชีวิตประจำ
วันที่เราอาจพบเจอได้ ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12344 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:24:47 » |
|
ผู้อำนวยการศาลฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12345 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:30:04 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การปลอบโยนอย่างผิวเผิน ..เช่น "แล้วทุกอย่างก็จะดีขึ้นเอง" "คุณยังอายุน้อยยังมีโอกาสอีกมาก-
รออยู่" "คุณเป็นคนฉลาด เดี๋ยวก็แก้ปัญหาได้" คำพูดเหล่านี้ยิ่งทำให้เขารู้สึกว่าไม่มีใครเข้าใจ ไม่
มีใครเห็นความสำคัญของปัญหาของเขา..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12346 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:32:02 » |
|
งานปีใหม่ค่ะ..จัดภายในบริเวณของศาลฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12347 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:36:02 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
พยายามหลีกเลี่ยงอารมณ์แรงๆ ..ควรช่วยให้แสดงอารมณ์ออกมาได้ แม้อารมณ์นั้นจะแรง โดยรู้สึก
มั่นคงปลอดภัย
ประเมินความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายไม่เพียงพอ ..เช่น ความตั้งใจที่จะตาย การวางแผน ประวัติ -
เก่าที่เคยพยายามฆ่าตัวตายมาแล้ว
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12348 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:37:43 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12349 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2556, 16:44:22 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
ไม่ค้นหาสาเหตุที่กระตุ้นให้อยากฆ่าตัวตาย ..เมื่อพบสาเหตุจึงใช้สาเหตุสำรวจผลกระทบต่อภูเขา
น้ำแข็ง เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในที่สุด
ผู้บำบัดไม่เป็นผู้นำในกระบวนการบำบัด ..คือ ไม่ทำการบำบัดแบบเชิงรุกแต่ทำแบบเชิงตั้งรับอย่าง
เดียว ควรทำการบำบัดเชิงรุกแบบให้การยอมรับเขา ไม่ตัดสิน มีคำถามแบบต่างๆแต่อ่อนโยนห่วงใย..
|
|
|
|
|