churaipatara
|
|
« ตอบ #12075 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:18:48 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12076 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:29:20 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การชื่นชมและการยอมรับอดีต ทำให้สามารถจัดการกับอนาคตได้ดียิ่งขึ้น .. ประสบการณ์ในอดีต เมื่อ-
เราผ่านมันมาได้ หมายความว่า เรามีความสามารถบางอย่างจึงผ่านมาได้ จึงควรเรียนรู้ว่า เราใช้ความ
สามารถอะไรถึงรอดมาได้ สามารถนำมาใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้า -
ตอนเด็กถูกทอดทิ้งต้องดิ้นรนเลี้ยงดูตัวเอง ก็ทำให้โตมาเป็นคนพึ่งตนเองได้เป็นอย่างดี .. จึงสมควร
ยอมรับ ขอบคุณอดีตและสมควรชื่นชมตัวเองที่ผ่านสิ่งเหล่านั้นมาได้ ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12077 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:30:35 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12078 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:37:51 » |
|
มาเถิดมา...รินน้ำใจให้หอพัก "ซีมะโด่ง" บ้านแสนรักแสนสุขสันต์ น้องจุฬาฯ พี่จุฬาฯ มาช่วยกัน ร่วมสานฝัน สร้างหอใหม่ให้น้องเรา
ให้น้องน้อยมีโอกาสเหมือนรุ่นพี่ ได้อบอุ่นในหอนี้ไม่มีเหงา ให้น้องได้พบเพื่อนรักเหมือนพวกเรา ให้พี่เก่า-น้องใหม่ ได้ผูกพัน
โอกาสดีมาถึงแล้ว...อย่ารอช้า มาเถิดมา...เร็วรี่ ขมีขมัน หอใหญ่ใหญ่ไม่ได้สร้างกันทุกวัน มาช่วยกันทดแทนคุณหอจุฬาฯ
ชมาวดี นาถนิติธาดา(แจง-รัฐศาสตร์34)
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12079 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:39:52 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12080 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:51:36 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
ให้ยอมรับพ่อแม่ในฐานะ ความเป็นคน มากกว่าบทบาทที่เขาทำ.. ธรรมชาติของคนคือมีความไม่สม-
บูรณ์แบบ ไม่รู้ดีทุกเรื่อง พ่อแม่อาจทำสิ่งที่ผิดพลาดต่อลูกด้วยความไม่รู้ได้ เช่น การทำร้ายทุบตี การ
ทอดทิ้ง คือ เขาเป็นคนธรรมดาที่ไม่สามารถทำบทบาทของพ่อแม่ได้ดีพอเท่านั้น ความหวังเป็นส่วน
สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลง ..จึงจะมีพลังงานขับเคลื่อนให้เปลี่ยนแปลง ผู้บำบัดจึงจำเป็นต้อง -
ช่วยผู้รับการบำบัดให้มีความหวัง ด้วยความเชื่อที่ว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้เสมอ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12081 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 13:52:43 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12082 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:07:20 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
คนส่วนใหญ่มักเลือกที่อยู่กับความเคยชินมากกว่าการเปลี่ยนแปลง .. กลัวที่จะพบกับสิ่งที่ไม่รู้ ไม่ชิน
ต้องปรับตัวใหม่ คนจึงอยากยึดสิ่งเดิมๆไว้ต่อไป เพราะรู้สึกง่ายกว่าไม่น่ากลัว ผู้บำบัดช่วยให้เขากล้า
เสี่ยงที่จะเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่ดีกว่า การบำบัดควรเน้นที่ส่วนดีและความเป็นไปได้ แทนที่จะไปเน้น
ที่ปัญหาหรือพยาธิสภาพ.. ช่วยให้เขาใช้ส่วนดีที่มีอยู่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีได้ ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12083 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:09:06 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12084 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:22:12 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การบำบัดจำเป็นต้องมุ่งไปสู่ทิศทางที่เป็นบวกเสมอ ..เพราะโดยธรรมชาติสิ่งที่เป็นบวกย่อมไม่ทำให้
เขาบาดเจ็บเพิ่มเติมจากเดิม และยังทำให้เขามีสุขภาพจิตดีขึ้นอีกด้วย การเปลี่ยนแปลงใช้กระบวน-
การเป็นหนทาง ส่วนเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆใช้เป็นบริบทให้การเปลี่ยนแปลงสามารถเกิดขึ้นได้..
ผู้บำบัดเพียงจับใจความให้ได้ว่าเกิดอะไรขึ้น แล้วใช้กระบวนการรักษาทำการเปลี่ยนแปลงผลกระทบ
ต่อจิตใจได้เลย
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12085 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:23:19 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12086 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:35:22 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
SATIR ได้เปรียบเทียบคนเหมือนภูเขาน้ำแข็งลูกหนึ่ง ซึ่งธรรมชาติของภูเขาน้ำแข็งจะมีส่วนที่โผล่พ้น
ผิวน้ำเพียงเล็กน้อย แต่ส่วนใหญ่อยู่ใต้น้ำทำให้มองไม่เห็นด้วยสายตา ..ส่วนเหนือน้ำใช้แทนพฤติกรรม
ที่คนภายนอกสามารถมองเห็นได้ ส่วนใต้น้ำแทนจิตใจของคนที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถสังเกตมอง -
เห็นได้ด้วยตา แต่ต้องใช้การพูดคุยซักถามทำความเข้าใจ ส่วนเส้นระดับน้ำแทนการปรับตัวของคนซึ่ง
บางครั้งก็อยู่ใต้น้ำเหนือน้ำ เหมือนกับคนบางครั้งก็ปรับตัวด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรม หรือการทำ-
งานภายในจิตใจ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12087 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 14:36:21 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12088 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 15:32:49 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่คนทั่วไปสามารถมองเห็นได้ เพราะเป็นการกระทำทางกายหรือทางวาจา เช่น หน้า
งอ หน้าบึ้ง ยิ้ม ร้องไห้ หัวเราะ แยกตัว เอะอะโวยวาย นิ่งเฉย พูดเป็นคำพูด และอื่่นๆอีกมากมาย เนื่อง
จากสามารถสังเกตเห็นได้ง่าย คนส่วนใหญ่จึงมักให้ความสนใจกับพฤติกรรมมากกว่าสิ่งที่อยู่ภายใน -
จิตใจ.. พฤติกรรมจึงเป็นผลลัพธ์สุดท้ายจากส่วนลึกของจิตใจนั่นเอง แต่คนส่วนใหญ่จะไม่รู้จึงพยา -
ยามไปแก้พฤติกรรมซึ่งเป็นปลายเหตุ ไม่ได้แก้ที่ต้นเหตุที่อยู่ลึกลงไปในใจ ..
ลองสังเกตลูกหลานและพยายามทำความเข้าใจกับเค้าให้ได้นะคะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12089 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 15:34:36 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12090 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 15:43:24 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
การรับมือหรือปรับตัวกับปัญหานี้เป็นกระบวนการหรือวิธีการ ที่คนเราใช้รับมือกับปัญหา ..เกิดจาก
การเรียนรู้ในอดีตของคนนั้น ใช้เพื่อทำให้คนนั้นสามารถรักษาตัวรอดจากสถานการณ์นั้น หรือทำ
ให้รู้สึกสบายใจมากขึ้น .. ใช้เมื่อต้องพบกับความเครียดหรือสิ่งที่รบกวนจิตใจ เช่น พ่อกับแม่ทะ -
เลาะกันรุนแรง หรือเมื่อเด็กถูกผู้ใหญ่ทำร้ายร่างกาย.. เลือกใช้ไปตามเหตุการณ์หรือขึ้นกับว่าส่วน
ใดของจิตใจเราถูกกระทบ ..อาจเป็นการหนีหรือเป็นการสู้ก็ได้..
เตรียมเชียร์กีฬาของศาลแล้วค่ะ พบกันใหม่พรุ่งนี้นะคะ บ๊ายย
|
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #12091 เมื่อ: 03 ธันวาคม 2556, 22:07:52 » |
|
สวัสดี ครับ น้องเอ๋ มาครับ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12092 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 10:57:41 » |
|
พี่วุฒิ นิติ24 นายด่านศุลกากรแม่สาย(กลาง เสื้อขาว)
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12093 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:15:32 » |
|
สวัสดีค่ะพี่ปี๊ด สบายดีนะคะ
สาระฯ(ต่อ)
อารมณ์ความรู้สึก..เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์เรา เป็นการแสดงออกของประสบการณ์ทางจิต-
ใจของคน อารมณ์ด้านดี เช่น ดีใจ ภูมิใจ มีความสุข รู้สึกสงบ รู้สึกดี .. อารมณ์ด้านลบเช่น โกรธ เศร้า
เสียใจ น้อยใจ หงุดหงิด สับสนว้าวุ่น
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12094 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:20:13 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12095 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:29:15 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
ทุกอารมณ์ล้วนมีความหมายในเชิงบวก เช่น อารมณ์โกรธ อาจเป็นสัญญาณบอกเหตุว่า ลึกๆแล้วเรา
รู้ว่าเราสมควรได้รับสิ่งที่ดีกว่าสิ่งที่มาทำให้เราโกรธ .. มนุษย์ธรรมดาย่อมมีอารมณ์ทั้งสองด้าน และ-
ไม่ควรพยายามเก็บกดอารมณ์ความรู้สึกด้านลบ เพราะจะติดอยู่ในจิตใจของเราเหมือนตะกอน ..วันดี
คืนดีเมื่อถูกกระตุ้นก็อาจระเบิดความโกรธออกมารุนแรง ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12096 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:32:44 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12097 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:39:04 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
ความรู้สึกต่อความรู้สึก .. เป็นความรู้สึกชั้นที่2 คือเมื่อจิตใจถูกกระทบจากเหตุการณ์จนเกิดความรู้สึก
ต่างๆเนื่องจากอารมณ์ชุดแรกที่เกิดขึ้นมักเป็นอารมณ์ด้านลบเสียมาก หลายอารมณ์ต่อหนึ่งเหตุการณ์
เสมอ.. จิตใจก็เกิด การตัดสินอารมณ์ความรู้สึกชุดแรกอีกครั้งหนึ่งจนเกิดความรู้สึกชุดที่สองตามมา ..
เช่น เมื่อถูกมารดาต่อว่า รู้สึกโกรธ หลังจากนั้นก็รู้สึกผิดที่โกรธมารดา ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12098 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:40:02 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #12099 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2556, 11:46:41 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
ความรู้สึกต่อความรู้สึกนี้ บางครั้งมีผลกระทบรุนแรงมากกว่า รบกวนจิตใจมากกว่า เจ็บปวดมากกว่า
ความรู้สึกชุดแรก ตย.เช่น ลูกสาวรู้สึกยอมรับพ่อไม่ได้ที่เจ้าชู้ ไม่รับผิดชอบต่อครอบครัว ทำให้แม่-
ลำบากต้องเลี้ยงลูกคนเดียวและทำให้แม่ช้ำใจ จึงรู้สึกโกรธเกลียด รังเกียจพ่อ ..แต่ก็รู้สึกผิดที่ไปรู้
สึกกับพ่อบังเกิดเกล้ารุนแรงแบบนั้น..
|
|
|
|
|