30 มิถุนายน 2567, 04:43:58
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 667 668 [669] 670 671 ... 979   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ☼☼☼ ร่วมคุยกันในมุมมองของคุณแม่~แวะพักทักทายเอ๋ 24 ☼☼☼  (อ่าน 2572244 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16700 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:22:05 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16701 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:27:32 »

เมื่อลูกเข้าเรียน

เมื่อเข้าวัยเรียนจะสังเกตได้ว่าเด็กมีสมาธิสั้น วอกแวกง่าย ไม่สามารถนั่งทำงานหรือทำการบ้านได้จน

เสร็จ ทำให้มีปัญหาการเรียนตามมา เด็กจะควบคุมตนเองไม่ค่อยดี มีพฤติกรรมก้าวร้าว อารมณ์หงุด -

หงิดง่ายทนความคับข้องใจไม่ค่อยได้ ทั้งหมดนี้ทำให้ความสัมพันธ์กับเพื่อนๆไม่ดี ทั้งความรู้สึกที่เด็ก

มีต่อตนเองก็แย่ลง เมื่ออยู่ในรร.เด็กไม่สามารถใช้ชีวิตในห้องเรียนได้เหมือนกับเด็กอื่นๆ มักจะรบกวน

ชั้นเรียน ไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฏเกณฑ์ของห้องเรียน...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16702 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:28:41 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16703 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:33:38 »

ถ้าเด็กมีปัญหาแอลดีร่วมด้วยปัญหาก็จะยิ่งมากขึ้น เนื่องจากจะทำอะไรไม่ได้เท่ากับเพื่อนๆ เด็กจะมี

ความรู้สึกแย่ลง รู้สึกเศร้าสร้อยหงุดหงิดใจ และเกิดความเบื่อหน่ายการเรียนในที่สุด

เมื่อลูกเป็นวัยรุ่น

เมื่อย่างเข้าวัยรุ่น อาการซนอยู่ไม่นิ่งอาจลดลงบ้าง แต่ปัญหาการเรียนจะยิ่งหนักขึ้น เพราะการเรียน-

จะยากขึ้นและอาการขาดสมาธิที่ยังคงมีอยู่นั้นจะทำให้เด็กเรียนไม่ทัน...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16704 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:34:48 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16705 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:43:51 »

การศึกษาในกลุ่มวัยรุ่นที่มีผลการเรียนต่ำพบว่า2ใน3คนจะมีปัญหา ADHD นอกจากนั้นปัญหาทาง-

พฤติกรรมในวัยนี้จะมากขึ้น เพราะการควบคุมตนเองที่ไม่ค่อยดี

เดิมเชื่อกันว่าโรคนี้จะหายไปเมื่อย่างเข้าวัยรุ่น แต่การศึกษาในปัจจุบันพบว่า แม้ความซนอยู่ไม่นิ่ง

จะลดลงเมื่อโตขึ้น แต่ความไม่มีสมาธิและขาดความยับยั้งชั่งใจจะยังคงอยู่ เมื่อประกอบกับความ -

ล้มเหลวที่มีมาตั้งแต่เล็กและความรู้สึกว่าตนเองไม่มีอะไรดี รวมทั้งความเครียดอันเกิดจากการย่าง

เข้าสู่วัยรุ่น เด็กก็อาจจะเกิดพฤติกรรมเกเรหรือติดสารเสพย์ติดได้...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16706 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 13:45:12 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16707 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:19:20 »

เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่

เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ อาการอาจแสดงออกมาในเรื่องงาน เช่น ไม่รู้จักจัดระบบในการทำงาน ทำงาน

ไม่เสร็จตามเวลา เปลี่ยนงานบ่อยๆ หรือมีปัญหาที่เกิดจากการขาดความยับยั้งชั่งใจ เช่น การขับ -

รถเร็วจนทำให้ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย หรือการมีเพศสัมพันธ์โดยปราศจากความระมัดระวังเป็นต้น

ผลกระทบทางอารมณ์...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16708 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:20:43 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16709 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:27:31 »

เนื่องจากการเรียนเป็นเสมือนงานหลักของเด็ก เมื่อเด็กประสบปัญหาในการเรียน เรียนตกแล้วตกอีก

โดยที่สติปัญญาปกติ เด็กจะเกิดความอึดอัดคับข้องใจว่าทำไมตนเองจึงทำไม่ได้เหมือนเพื่อน เด็ก-

จะสูญเสียความเชื่อมั่นและความนับถือในตนเอง รู้สึกไร้ศักดิ์ศรีและมีปมด้อยเมื่ออยู่กับเพื่อน เด็กจะ

เริ่มแยกตัวออกมาจากกลุ่มเพื่อน บางคนอาจใช้วิธีทำเป็นตัวตลกเพื่อให้เพื่อนยอมรับ แต่บางคนก็

อาจไม่แคร์ใครและทำตัวเกเรไปเลย...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16710 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:29:03 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16711 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:39:53 »

ปัญหาอีกข้อหนึ่งที่จะมีผลกระทบต่อเด็กมาก คือการที่พ่อแม่และครู มักจะเพ่งเล็งที่จุดด้อยของเด็ก

แทนที่จะให้ความสนใจในจุดเด่นหรือความสามารถที่เด็กมี การกระทำดังกล่าวทำให้เด็กเกิดความรู้-

สึกว่าตนเองไม่มีอะไรดีเลย

อย่างไรก็ตามการมีปัญหาสมาธิบกพร่องนั้น ไม่ได้เป็นข้อเสียเสมอไป ในบางครั้งการที่มีสมาธิไม่ดีมี

ความคิดกระจัดกระจายไม่คงเส้นคงวานั้น อาจทำให้เด็กมีความคิดที่แปลกใหม่และสามารถสร้าง -

สรรค์ผลงานที่แตกต่างไปจากเด็กอื่นๆก็ได้...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16712 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:42:10 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16713 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:47:22 »

ในปัจจุบันผู้ปกครองจำนวนมาก มีความวิตกกังวลเรื่องลูกไม่มีสมาธิในการเรียน แต่ละสัปดาห์จะมี

ผู้ปกครองพาลูกมาปรึกษาผู้เขียนที่รพ.หลายราย ในเด็กหลายคนที่ผู้ปกครองบ่นว่าไม่มีสมาธินั้น-

เมื่อตรวจดูแล้วก็พบว่าเด็กปกติดี

เมื่อไรควรสงสัยว่าลูกมีสมาธิบกพร่อง

คำตอบคือควรจะสงสัยว่าลูกมีสมาธิบกพร่องเมื่อลูกทำอะไรไม่ได้นาน ไม่สามารถจดจ่อกับงานหรือ...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16714 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:49:09 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16715 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 14:58:39 »

สิ่งของตรงหน้าได้นานเพียงพอ หรือมีอาการใจลอย เช่น ถ้าเป็นเด็กเล็กก็จะเล่นของเล่นแต่ละชิ้น

ได้ช่วงสั้นๆ แล้วเปลี่ยนของเล่นไปเรื่อยๆ ถ้าเป็นเด็กโตก็มักจะไม่สามารถตั้งใจทำการบ้านได้เสร็จ

มักจะวอกแวก เหลียวซ้ายแลขวา ชวนคนอื่นคุย ลุกขึ้นเล่น ทำโน่นทำนี่ตลอดเวลา หรือใจลอย

ช่างฝัน ทำเลขเพียงหนึ่งข้อก็อาจใช้เวลาถึงหนึ่งชั่วโมง...หากลูกมีลักษณะดังที่กล่าวมานี้ ก็น่าจะ

สงสัยว่ามีสมาธิบกพร่อง และถ้าลูกมีอาการซนมากอยู่ไม่สุข หรือมีอุบัติเหตุบ่อยเพราะทำอะไรไม่-

ค่อยระวัง มีเปอร์เซนต์สูงทีเดียวที่จะเป็นโรคสมาธิบกพร่อง...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16716 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:00:00 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16717 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:05:41 »

แม้ลูกจะดูโทรทัศน์ เล่นวีดิโอเกม อ่านการ์ตูน หรือทำอะไรที่ชอบได้นานหลายชั่วโมง ลูกก็สามารถ

เป็น ADHD ได้ ปัญหาสำคัญของโรคไม่ได้อยู่ที่ไม่มีสมาธิเอาเสียเลย แต่อยู่ที่การควบคุมสมาธิและ

การปรับเปลี่ยนสมาธิ การที่คนทั่วไปเรียกโรคนี้ว่า โรคสมาธิสั้นนั้นเป็นการเรียกที่ไม่ค่อยถูกต้องนัก

จริงแล้วต้องเรียกว่าโรคสมาธิบกพร่อง ทั้งนี้เพราะเด็กที่เป็นโรคนี้ยังสามารถตั้งสมาธิได้นาน เพียง -

แต่จะทำการปรับเปลี่ยนและควบคุมสมาธิได้ไม่ดีเท่านั้น...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16718 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:17:50 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16719 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:24:22 »

ถ้าเป็นสิ่งกระตุ้นที่เข้มข้น น่าติ่นเต้นและน่าสนใจ เด็กก็จะมีสมาธิได้นาน แต่ถ้าเป็นสิ่งกระตุ้นที่น่า-

เบื่อและไม่ชอบ เด็กจะไม่สามารถบังคับตนเองให้จดจ่อได้ ถ้าเด็กไม่ชอบวิชาภาษาไทย หนังสือ

ภาษาไทยก็จะเป็นสิ่งกระตุ้นที่น่าเบื่อ แม้รู้ว่าพรุ่งนี้จะสอบ เด็กก็จะตั้งสมาธิในการอ่านไม่ค่อยได้...

ในขณะที่เด็กปกติสามารถตั้งใจอ่านได้จนจบ

พ่อแม่มักเล่าว่าลูกมีสมาธิกับโทรทัศน์มาก แม้เมื่อพ่อแม่เรียกก็ดูเหมือนไม่ได้ยิน ที่เป็นเช่นนี้เพราะ...                         
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16720 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:25:34 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16721 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:30:55 »

เด็กมีลักษณะจดจ่อกับสิ่งกระตุ้นตรงหน้ามากเกินไป จนไม่สามารถรับรู้สิ่งกระตุ้นสำคัญอื่นๆ ในขณะ-

ที่เด็กปกติเมื่อกำลังมีสมาธิกับสิ่งหนึ่ง ก็ยังสามารถรับรู้สิ่งกระตุ้นอื่นๆได้ และเลือกว่าสิ่งกระตุ้นใดมี

ความสำคัญ และจำเป็นที่ตนจะต้องตอบสนองด้วย

ลักษณะที่บางครั้งดูมีสมาธิและบางครั้งไม่มีนั้น เป็นลักษณะของโรค ADHD ที่มักทำให้ผู้ใหญ่สับสน

การที่มีลักษณะดังกล่าวเป็นเพราะเด็กไม่สามารถควบคุมและปรับเปลี่ยนสมาธิได้ดีพอ...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16722 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:32:25 »

      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16723 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:54:20 »

เด็กไม่สามารถมีสมาธิเมื่อจำเป็นต้องมีสมาธิ แต่จะมีสมาธิดีเกินไปเมื่อไม่จำเป็น เช่น มีสมาธิดีเกินไป

จนไม่ได้ยินเสียงแม่เรียกขณะดูโทรทัศน์ ลักษณะแบบนี้ทำให้บางครั้งเด็กดูตั้งใจแต่บางครั้งดูไม่ตั้งใจ

บางครั้งก็ทำการบ้านได้ดีและถูกหมดทุกข้อ แต่บางครั้งก็ทำผิดหมดทุกข้อ ตอนเปิดเทอมใหม่ๆเด็ก -

ยังตื่นเต้นกับการเรียนก็จะตั้งใจทำคะแนนได้ดี พอปลายเทอมก็เริ่มเบื่อและคะแนนตกลง ลักษณะแบบ

นี้ก็คือ การทำงานแบบไม่คงเส้นคงวา ทำให้ผู้ใหญ่เข้าใจผิดคิดว่าเด็กไม่ยอมทำ ขี้เกียจ ไม่พยายาม...
      บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #16724 เมื่อ: 17 มีนาคม 2559, 15:56:04 »

      บันทึกการเข้า
  หน้า: 1 ... 667 668 [669] 670 671 ... 979   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มวลสมาชิกสมาคม คณาจารย์ และนิสิตเก่าทุกคน ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย  พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ <;))))><