พัช 24
|
|
« ตอบ #225 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:11:10 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #226 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:12:09 » |
|
ท่านทู เย็นนี้กินข้าวกับอะไร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jingjok ۩ 2524
|
|
« ตอบ #227 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:12:46 » |
|
อันแรก -สุบรรณ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2524
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #228 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:13:25 » |
|
ผักคะน้าผัด กระเพาเจ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #229 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:13:47 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
jingjok ۩ 2524
|
|
« ตอบ #230 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:15:44 » |
|
สุคนธ์
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2524
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #231 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:17:15 » |
|
1.เป็นน้ำพุ่งขึ้นจากดิน 2.ใส่ขวดไว้กิน 3.ไหลรินอยู่ทุกเวลา 4.กลิ่นหอมระรื่นนาสา 5.ล่อภมรนานา 6.น้ำตาพานไหลเมื่อได้กิน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #232 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:17:40 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #233 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:22:06 » |
|
ถือศีล กินเจหรือ กระเพาเอามัดผัดกับเห็ดฟางอร่อยนะ ถ้าใส่กระเทียมแบบมังสวิรัติได้ก็จะดี
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jingjok ۩ 2524
|
|
« ตอบ #234 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:25:05 » |
|
ป๋าทู...ฉันเริ่มเวียนหัวกับการวิ่งตอบคำถามป๋า...
กองไว้ที่ใดที่หนึ่งเถิดท่าน
ใส่เบอร์คำถามไว้ด้วย
จะได้ตอบถูก
อันเก่ายังไม่จบ
อันใหม่มาแล้ว
กรูงง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2524
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #235 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:27:37 » |
|
JJ คิดไว้เยอะ แต่ถูกรุมกันตอบแทบหมดโกดังแล้ว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #236 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:29:29 » |
|
ไม่ได้ถือ แต่กินผักเป็นหลัก เว้นกินสัตว์หลายอย่าง ทำให้รู้สึกว่าไม่ต้องใช้กรรมเกินสมควร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #237 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:33:43 » |
|
ดีจ้ะ
พัชไม่ถึงกับเว้น แต่จะกินตัวเล็ก ๆ วัวนี่ไม่กินมานานมาก แต่ไม่เคยตั้งสัจจะว่าไม่กิน คือถ้าไม่อดตายก็กินอย่างอื่น แต่ถ้าให้ฆ่าแล้วจึงได้กิน ก็กินผักอย่างเดียว ทูไม่กินไก่ ปลาแล้วก็อะไรนะที่บอกตอนไปญี่ปุ่น
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #238 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:34:57 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #239 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:36:12 » |
|
สนุกดีนะท่านทู
ทั้งให้ค้นหาคำตอบ ทั้งเหมือนกลับเป็นเด็ก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #240 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:42:33 » |
|
ตามปกติ ไม่ทาน สัตว์มีเหงือ(เว้นปลาทู ปลาอินทรีย์เค็ม) สัตว์ 4 ขา (เว้นหมู) สัตว์ 2 ขา สัตว์เลื่อยคลาน แมง+แมลง(เว้นแมงดา+รถด่วน) ที่เลิกไม่ได้เพราะติดในรสชาต อีกหน่อยอาจเลิกได้มากกว่านี้ อ่อ เลิกกินนมสัตว์อย่างตั้งใจด้วย(ผสมในอาหารอื่นก็กินบ้าง)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #242 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:52:12 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #243 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 20:59:28 » |
|
ท่านทู พระพุทธเจ้า ท่านห้ามเนื้อกี่ชนิดนะ
แต่ท่านว่าท่านไม่ฉันอะไร ท่านฉันบิณฑบาต
กินผัก ถ้ากินด้วยโลภะ อกุศลจิตก็เกิด
เราก็ยังติดในรส สามปีที่แล้วเคยกินมื้อเดียวตลอดสามปี เพิ่งหยุดเมื่อเมษาฯ ปีที่แล้ว
ช่วงที่ยังงดอยู่ก็มีความไม่สะดวก ด้วยอาชีพบ้าง แต่ได้กำลังจิตใจดี แต่ 15 วันแรกนี่ เอาการอยู่
ปัจจุบัน กินมื้อเย็นก็ได้ไม่กินก็ได้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jingjok ۩ 2524
|
|
« ตอบ #244 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 21:01:50 » |
|
อดมื้อเย็นได้เนี่ยเก่งมากๆเลยพัช
เราไม่ไหว ตายดีกว่า...ทรมานโคตรๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2524
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #245 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 21:06:21 » |
|
เรามีลูกค้าที่เป็นรุ่นพี่จุฬา เป็นเบาหวาน สุดท้ายยุติการใช้ยาด้วยการงดอาหารเย็น นอกจากวันพิเศษบางวัน
จิ้งจก มันจะยากประมาณ 7-15 วันแรก แต่ของเราตอนนั้นมันยากเพราะต้องไม่เกินเที่ยงด้วย วันไหนไม่ทันคืออดข้าวทั้งวัน เพราะกลัวล่ม
ถ้าเพื่อนจะลอง ก็ทานมื้อเช้า ทานเที่ยงให้พอ เย็นก็อาจเป็นผลไม้หรือน้ำผลไม้ที่ไม่หวานมาก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jingjok ۩ 2524
|
|
« ตอบ #246 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 21:21:29 » |
|
ลองแล้ว...ไม่ไหวครับ
แต่เราก็ไม่ต้องงดอาหารเย็น ก็ลดน้ำตาลได้โดยออกกำลังกายและไม่ต้องกินยา
กินจุเหมือนเดิมแต่เลือกกิน (ป้าแจงค้อนที่ซัดสาหร่อย 6 ถุงทีเดียว อิอิ)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2524
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #247 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 21:27:19 » |
|
พัช มีพระวินัยกำหนดห้ามฉันดังนี้ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ ๑.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อมนุษย์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาคนที่มีศรัทธาเลื่อมใสมีอยู่ เขาสละเนื้อของเขาถวายก็ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อมนุษย์ รูปใดฉัน ต้องอาบัติถุลลัจจัย อนึ่ง ภิกษุยังมิได้ พิจารณา ไม่พึงฉันเนื้อ รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๒.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อช้าง ก็โดยสมัยนั้นแล ช้างหลวงล้มลงหลายเชือก สมัยอัตคัตอาหารประชาชน พากันบริโภคเนื้อช้าง และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้อช้างประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้อช้างเล่า เพราะช้างเป็นราชพาหนะ ถ้าพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบคงไม่ทรงเลื่อมใสต่อพระสมณะเหล่านั้นเป็นแน่ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติ ห้ามแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อช้าง รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๓.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อม้า สมัยต่อมา ม้าหลวงตายมาก สมัยอัตคัดอาหาร ประชาชนพากันบริโภคเนื้อม้า และ ถวายแก่ภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้อม้า ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้อม้าเล่า เพราะม้าเป็นราชพาหนะ ถ้าพระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบ คงไม่เลื่อมใสต่อพระสมณะเหล่านั้นเป็นแน่ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี พระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้ามแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉัน เนื้อม้า รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๔.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อสุนัข สมัยต่อมา ถึงคราวอัตคัดอาหาร ประชาชนพากันบริโภคเนื้อสุนัข และถวายแก่พวก ภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้อสุนัข ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้อสุนัขเล่า เพราะสุนัขเป็นสัตว์น่าเกลียด น่าชังภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้ามแก่ภิกษุทั้งหลาย ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อสุนัข รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๕.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้องู สมัยต่อมา ถึงคราวอัตคัดอาหาร ประชาชนพากันบริโภคเนื้องู และถวายแก่พวกภิกษุ ผู้เที่ยวบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายฉันเนื้องู ประชาชนจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรจึงได้ฉันเนื้องูเล่า เพราะงูเป็นสัตว์น่าเกลียดน่าชัง แม้พระยานาคชื่อสุปัสสะก็เข้าไปในพุทธสำนักถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า บรรดาที่ไม่มีศรัทธา ไม่เลื่อมใสมีอยู่ มันคงเบียดเบียนพวกภิกษุจำนวนน้อยบ้าง ของประทานพระวโรกาส พระพุทธเจ้าข้า ขอพระ- *คุณเจ้าทั้งหลายโปรดกรุณาอย่าฉันเนื้องู ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคทรงชี้แจงให้พระยานาคสุปัสสะ เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถา ครั้นพระยานาคสุปัสสะอันพระผู้มีพระภาค ทรงให้เห็นแจ้งสมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้วถวายบังคมพระผู้มีพระภาคทำ ประทักษิณกลับไป ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุ แรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้องู รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๖.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อราชสีห์ สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าราชสีห์แล้วบริโภคเนื้อราชสีห์ และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยว บิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อราชสีห์แล้วอยู่ในป่า ฝูงราชสีห์ฆ่าพวกภิกษุเสีย เพราะได้กลิ่นเนื้อ ราชสีห์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้ามภิกษุ ทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อราชสีห์ รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๗.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อเสือโคร่ง สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าเสือโคร่งแล้วบริโภคเนื้อเสือโคร่งและถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยว บิณฑบาต พวกภิกษุฉันเสือโคร่งแล้วอยู่ในป่า เหล่าเสือโคร่งฆ่าพวกภิกษุเสียเพราะได้กลิ่นเนื้อ เสือโคร่ง ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้าม ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อเสือโคร่ง รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๘.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อเสือเหลือง สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าเสือเหลือง แล้วบริโภคเนื้อเสือเหลืองและถวายแก่พวกภิกษุ ผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อเสือเหลืองแล้วอยู่ในป่า เหล่าเสือเหลืองฆ่าพวกภิกษุเสีย เพราะได้กลิ่นเนื้อเสือเหลือง ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อเสือเหลือง รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๙.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อหมี สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าหมีแล้วบริโภคเนื้อหมี และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต พวกภิกษุฉันหมีแล้วอยู่ในป่าเหล่าหมีฆ่าพวกภิกษุเสียเพราะได้กลิ่นเนื้อหมี ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อหมี รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ.
๑๐.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อเสือดาว สมัยต่อมา พวกพรานฆ่าเสือดาวแล้วบริโภคเนื้อเสือดาว และถวายแก่พวกภิกษุผู้เที่ยว บิณฑบาต พวกภิกษุฉันเนื้อเสือดาวแล้วอยู่ในป่า เหล่าเสือดาวฆ่าพวกภิกษุเสีย เพราะได้กลิ่น เนื้อเสือดาว ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค ทรงบัญญัติ ห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อเสือดาว รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ. สุปปิยภาณวาร ที่ ๒ จบ.
๑๑.พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อที่ทำเฉพาะ ครั้งนั้นพระผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิด นั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรู้อยู่ไม่พึงฉันเนื้อที่เขาทำจำเพาะ รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาต ปลา เนื้อ ที่บริสุทธิ์โดยส่วนสาม คือ ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ.
๑๒.พระพุทธบัญญัติห้ามภัตตาหารบางชนิด ก็โดยสมัยนั้นแล พระนครเวสาลีมีภิกษาหารมาก มีข้าวกล้างอกงาม บิณฑบาต ก็ง่าย ภิกษุสงฆ์จะยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยการถือบาตรแสวงหาก็ทำได้ง่าย ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ประทับหลีกเร้นอยู่ในที่สงัด ทรงปริวิตกนี้ว่า ภัตตาหารที่เราอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลาย เมื่อคราว อัตคัดอาหาร มีข้าวกล้าน้อย บิณฑบาตได้ฝืดเคือง คืออาหารที่เก็บไว้ภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่ หุงต้มภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่หุงต้มเอง ๑ อาหารที่จับต้องแล้วรับประเคนใหม่ ๑ อาหารที่ทายก นำมาจากที่นิมนต์นั้น ๑ อาหารที่รับประเคนฉันในปุเรภัต ๑ อาหารที่เกิดในป่าและเกิดในสระบัว ๑ ภัตตาหารเหล่านั้น ภิกษุทั้งหลายยังฉันอยู่ทุกวันนี้หรือหนอ. ครั้นเวลาเย็น พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่ประทับพักเร้น แล้วรับสั่งถามท่าน พระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ ภัตตาหารที่เราอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลาย เมื่อคราวอัตคัดอาหาร มีข้าวกล้าน้อย บิณฑบาตได้ฝืดเคือง คืออาหารที่เก็บไว้ภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่หุงต้มภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่หุงต้มเอง ๑ อาหารที่จับต้องแล้วรับประเคนใหม่ ๑ อาหารที่ทายกนำมาจากที่นิมนต์นั้น ๑ อาหารที่รับประเคนฉันในปุเรภัต ๑ อาหารที่เกิดในป่าและเกิดในสระบัว ๑ ภัตตาหารเหล่านั้น ภิกษุทั้งหลายยังฉันอยู่ทุกวันนี้หรือ? ท่านพระอานนท์ทูลว่า ยังฉันอยู่ พระพุทธเจ้าข้า. ลำดับนั้น ผู้มีพระภาคทรงทำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิด นั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภัตตาหารที่เราอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลาย เมื่อคราวอัตคัดอาหาร มีข้าวกล้าน้อย บิณฑบาตได้ฝืดเคือง คืออาหารที่เก็บไว้ภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่หุงต้มภายในที่อยู่ ๑ อาหารที่หุงต้มเอง ๑ อาหารที่จับต้องแล้วประเคนใหม่ ๑ อาหาร ที่ทายกนำมาจากที่นิมนต์นั้น ๑ อาหารที่รับประเคนฉันในปุเรภัต ๑ อาหารที่เกิดในป่าและเกิด ในสระบัว ๑ ภัตตาหารเหล่านั้น เราห้ามจำเดิมนี้เป็นต้นไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันอาหารที่เก็บไว้ภายในที่อยู่ อาหารที่หุงต้มภายในที่อยู่ อาหารที่หุงต้มเอง อาหารที่จับต้องแล้วประเคนใหม่ รูปใดฉัน ต้องอาบัติทุกกฏ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนอาหารที่ทายกนำมาจากที่นิมนต์นั้น อาหารที่รับประเคนฉันใน ปุเรภัต อาหารที่เกิดในป่าและเกิดในสระบัว ยังไม่เป็นเดน ภิกษุฉันเสร็จ ห้ามภัตแล้ว ไม่พึงฉัน รูปใดฉัน พึงปรับอาบัติตามธรรม. เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ บรรทัดที่ ๒๐๙๕ - ๒๑๒๖. หน้าที่ ๘๕ - ๘๖.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #248 เมื่อ: 06 ตุลาคม 2551, 21:46:42 » |
|
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ราโท ความหมาย
น. ไม้กระดานเรียบที่ประกบบนกราบเรือบางชนิด เช่น เรือเอี้ยมจุ๊นเรือโป๊ะจ้าย เรือกลไฟ สําหรับกันนํ้าเข้าเรือหรือเดินเลียบข้างเรือ.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
|
|