22 พฤศจิกายน 2567, 22:55:02
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 100 101 [102] 103 104 ... 258   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ••• ชมาวดี ชวนชม 2551-2553 •••  (อ่าน 2287033 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #2525 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 19:46:52 »

ได้ความรู้มากเลยค่ะ บ่ฮู้บ่หัน
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2526 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 21:55:38 »

มารอส่งเจ้าของบ้านเข้านอน  ด้วยกล้วยไม้สีเขียวจ้า



 sleep sleep sleep
บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #2527 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 22:11:12 »

พี่พัช,
พี่แจงยังอยู่ในงานพี่ต๋อยคะ
อยู่กันอุ่นหนาฝาคั่ง...ยังคุยไม่จบคะ


nn.24+3
บันทึกการเข้า


CHOOM~POOH
Full Member
**


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 307

« ตอบ #2528 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 22:33:57 »

ดีครับพี่แจง
ขับรถกลับชลอย่างปลอดภัยนะครับ
ตัวจริงพี่แจงสวยกว่าในรูปมากมายครับ
และก็ขอบคุณสำหรับวันนี้นะครับ
และก็เอาดอกไม้ไฮยาซินมาส่งก่อนนอนครับ


บันทึกการเข้า
phraisohn
บักสน
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


บักสนแคมโบ้
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu89 (ปี 2549)
คณะ: วิทยาศาสตร์
กระทู้: 9,557

เว็บไซต์
« ตอบ #2529 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 22:55:15 »

ถึงบ้านปลอดภัยนะครับป้าแจง  sorry
บันทึกการเข้า
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #2530 เมื่อ: 15 มกราคม 2552, 09:03:19 »

สวัสดีค่ะเพื่อนๆ บ่ฮู้บ่หัน
บันทึกการเข้า
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842

เว็บไซต์
« ตอบ #2531 เมื่อ: 15 มกราคม 2552, 18:23:39 »

ราชพฤกษ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 

ดอกราชพฤกษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

อาณาจักร Plantae
ส่วน Magnoliophyta
ชั้น Rosopsida

อันดับ Fabales
วงศ์ Fabaceae
วงศ์ย่อย Caesalpinioideae

เผ่า Cassieae
สกุล Cassia
สปีชีส์ C. fistula
ข้อมูลทั่วไ ชื่อ
ชื่อของราชพฤกษ์นั้นมีการเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่จะเรียกราชพฤกษ์ว่า คูน เนื่องจากจำง่ายกว่า (แต่มักจะเขียนผิดเป็น คูณ) ทางภาคเหนือเรียกว่า ลมแล้ง ทางภาคใต้เรียกว่า อ้อดิบ ในปัตตานีเรียกว่า ลักเกลือ หรือ ลักเคย ชาวกะเหรี่ยงและในกาญจนบุรีเรียกว่า กุเพยะ


การดูแลรักษา
แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง
น้ำ ต้องการปริมาณน้ำน้อย ควรให้น้ำ 7-10 วัน/ครั้ง อายุประมาณ 4 ปี สามารถทนต่อสภาพธรรมชาติได้
ดิน ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียว
ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2-3 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-4 ครั้ง
การขยายพันธุ์การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การเพาะเมล็ด
โรคไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร
ศัตรูหนอนเจาะลำต้น (Stem boring caterpillars) จะมีอาการ ลำต้นหรือยอดเป็นรู เป็นรอยเจาะทำให้กิ่งหักงอ
การป้องกันรักษาความสะอาดบริเวณแปลงปลูก หรือกำจัดแมลงพาหะ ใช้ยาเช่นเดียวกับการกำจัด
การกำจัดใช้ยาไดเมทโธเอท หรือ เมโธมิล อัตราและคำแนะนำระบุไว้ตามฉลาก

สรรพคุณ
ส่วนต่างๆ ของต้นราชพฤกษ์มีประโยชน์ดังนี้

ฝักแก่        เนื้อสีน้ำตาลดำและชื้นตลอดเวลา มีรสหวาน สามารถใช้เป็นยาระบายได้ โดยนำฝักมาต้มกับน้ำ และเติมเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือก่อนรับประทานอาหาร นอกจากนั้น ฝักแก่ยังมีสารที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทของแมลง เมื่อนำฝักมาบดผสมน้ำแช่ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน สารละลายที่กรองได้สามารถฉีดพ่นกำจัดแมลงและหนอนในแปลงผักได้
ฝักอ่อน      สามารถใช้ขับเสมหะได้
ใบ            สามารถนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อโรคได้
ดอก         แก้แผลเรื้อรัง

ความเชื่อ
คนไทยในสมัยโบราณเชื่อว่า ควรปลูกต้นราชพฤกษ์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่อยู่อาศัย เพื่อให้ผู้ที่อยู่อาศัยในบ้านเรือนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นทวีคูณ ซึ่งความเป็นจริงคือทิศดังกล่าวจะได้รับแดดจัดตลอดช่วงบ่าย จึงควรปลูกต้นไม้ใหญ่เพื่อให้ลดความร้อนและทำให้ประหยัดพลังงานมากขึ้น

คนไทยในสมัยโบราณยังมีความเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นราชพฤกษ์ไว้ประจำบ้านจะช่วยให้มีเกียรติมีศักดิ์ศรี ด้วยคนไทยส่วนใหญ่ยอมรับว่าต้นราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ที่มีคุณค่าสูงและยังเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติไทยอีกด้วย นอกจากนี้มีความเชื่อว่า ใบของต้นราชพฤกษ์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพราะในพิธีทางไสยศาสตร์ให้ใบทำน้ำพุทธมนต์สะเดาะเคราะห์ได้ผลดีดังนั้นจึงถือว่าต้นราชพฤกษ์เป็นไม้มงคลนาม


เกร็ด
ราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำจังหวัดขอนแก่น
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำ โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัด นนทบุรี (ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๐)
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำ กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ นวมินทราชูทิศ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ อีสาน โรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
บันทึกการเข้า

เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #2532 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 08:15:10 »

สวัสดีค่ะแจง ขอบคุณที่แจ้งข่าวและชวนเอ๋ตลอด ขอผลัดว่าเรียนจบก่อนนะคะ บ่ฮู้บ่หัน
บันทึกการเข้า
แจง-24
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: RCU2524
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 10,028

« ตอบ #2533 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 10:46:44 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 14 มกราคม 2552, 21:55:38
มารอส่งเจ้าของบ้านเข้านอน  ด้วยกล้วยไม้สีเขียวจ้า



 sleep sleep sleep

กล้วยไม้เขียวสวยจัง ขอบคุณมากค่ะ แม่เลี้ยงพัด
มัวแต่รายงานข่าวเลี้ยงต้อนรับมาดามมิลส์
เลยไม่มีเวลาแปะรูปดอกไม้ส่งนอน
ขอบคุณที่ช่วยค่ะ แม่เลี้ยง

เช็ค pm ด้วยนะคะ เรื่องนัดทานข้าวกันที่เชียงใหม่น่ะค่ะ
บันทึกการเข้า

   อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2534 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 11:45:04 »

ราชพฤกษ์
บางส่วนจาก http://www.culture.go.th/knowledge/nation/01.htm

ชื่อวิทยาศาสตร์   Cassia fistula Linn
ชื่อวงศ์   CAESALPINIACEAE
ชื่อสามัญ Golden Shower, Indian Laburnum,Pudding-Pine Tree,
               Purging Cassia
ชื่อท้องถิ่น ภาคเหนือ  เรียก  ลมแล้ง
               ภาคใต้ เรียก  ราชพฤกษ์
               ปัตตานี เรียก  ลักเกลือ  ลักเคย
               ภาคกลาง เรียก ชัยพฤกษ์  ราชพฤกษ์
               กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี  เรียก กุเพยะ
               กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน เรียก ปีอยู, ปูโย, เปอโซ, แมะหล่า อยู่
               อีสาน  เรียก  คูน
ลักษณะทั่วไป   ราชพฤกษ์เป็นไม้ยืนต้นสูงได้ถึง 15 เมตร  เปลือกต้นสีเทา  ผิวเรียบ ใบเป็นใบประกอบที่ปลายก้านใบเป็นคู่
ใบย่อยเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม  เนื้อใบเกลี้ยงค่อนข้างบาง หูใบมีขนาดเล็กและร่วงง่าย  ดอกออกเป็นช่อห้อยระย้าจากซอกใบ
ช่อดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีแผ่นบาง ๆ ยาว 1.15 ซม.  กลีบดอกมี 6 กลีบ  สีเหลืองสดปลายมนเห็นเส้นลายชัดเจน ผลเป็นฝัก
ทรงกระบอกเปลือกนอกบางและแข็งเหมือนไม้เรียบไม่มีขน ยาว20-60 ซม. มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 -2 ซม. ภายในเป็นช่อง ๆ
มีเมล็ดรูปรีแบบสีน้ำตาลจำนวนมาก
การปลูก  เพาะเมล็ดให้ได้ต้นกล้าสูง 30-50 ซม. ขุดหลุมกว้างและลึก 50-70 ซม. ตากดินไว้10-15 วัน ใช้ปุ๋ยคอกรองก้นหลุม
นำต้นกล้าลงปลูก กลบดินให้แน่น รดน้ำให้ชุ่ม  ปลูกง่าย ไม่ช้าก็ตั้งตัวได้
สรรพคุณทางยา
ฝัก   รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย  มีกลิ่นเหม็นเอียน เย็นจัด ไม่มีพิษ สรรพคุณใช้ขับเสมะ  ขับพยาธิ แก้เด็กเป็นตานขโมย
      เป็นยาถ่ายและแก้ไข้มาลาเรีย
เนื้อในฝัก    รสหวานเอียน  ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ แก้ไข้มาลาเรีย แก้ปวดข้อ
เมล็ด    เป็นยาระบายและทำให้อาเจียนเรื่อ
ดอก    รสขมเปรี้ยว  เป็นยาถ่ายแก้โรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและแผลเรื้อรัง
ใบอ่อน  รสเมา แก้กลาก
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์  เนื้อในฝักคูนมีสารประเภท Anthraqinones หลายตัว เช่น Aloin, Rhein, Sennoside A,B
และยังมีOrganic acid สารAnthraquinone ทำให้เนื้อฝักคูนมีฤทธิ์เป็นยาระบายได้ โดยมีฤทธิ์ไปกระตุ้นการบีบตัว
ของลำไส้เหมาะสำหรับผู้ที่ท้องผูกเป็นประจำ


เรื่องรสของเนื้อในฝักขอยืนยันว่ารสหวาน  เพราะสมัยที่ยังปีนป่ายตามต้นไม้
 ก็เคยชิมรสเนื้อในของฝักคูนหรือราชพฤกษ์  มาแล้ว
ส่วน คูนหรืออ้อดิบ  วันนี้คงต้องไปเก็บภาพมาฝาก  ค้นพบมาอีกว่า  ภาคกลางก็เรียกบอนชนิดนี้ว่า คูนหรือบอนหวานค่ะ
ว่าแล้วก็หิวแกงส้มอ้อดิบ
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2535 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 11:50:56 »

อ้างถึง
ข้อความของ patooman24 เมื่อ 15 มกราคม 2552, 18:23:39
ราชพฤกษ์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 

ดอกราชพฤกษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์

อาณาจักร Plantae
ส่วน Magnoliophyta
ชั้น Rosopsida

อันดับ Fabales
วงศ์ Fabaceae
วงศ์ย่อย Caesalpinioideae

เผ่า Cassieae
สกุล Cassia
สปีชีส์ C. fistula
ข้อมูลทั่วไ ชื่อ
ชื่อของราชพฤกษ์นั้นมีการเรียกแตกต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่จะเรียกราชพฤกษ์ว่า คูน เนื่องจากจำง่ายกว่า (แต่มักจะเขียนผิดเป็น คูณ) ทางภาคเหนือเรียกว่า ลมแล้ง ทางภาคใต้เรียกว่า อ้อดิบ ในปัตตานีเรียกว่า ลักเกลือ หรือ ลักเคย ชาวกะเหรี่ยงและในกาญจนบุรีเรียกว่า กุเพยะ


การดูแลรักษา
แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง
น้ำ ต้องการปริมาณน้ำน้อย ควรให้น้ำ 7-10 วัน/ครั้ง อายุประมาณ 4 ปี สามารถทนต่อสภาพธรรมชาติได้
ดิน ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียว
ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2-3 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-4 ครั้ง
การขยายพันธุ์การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดี คือ การเพาะเมล็ด
โรคไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร
ศัตรูหนอนเจาะลำต้น (Stem boring caterpillars) จะมีอาการ ลำต้นหรือยอดเป็นรู เป็นรอยเจาะทำให้กิ่งหักงอ
การป้องกันรักษาความสะอาดบริเวณแปลงปลูก หรือกำจัดแมลงพาหะ ใช้ยาเช่นเดียวกับการกำจัด
การกำจัดใช้ยาไดเมทโธเอท หรือ เมโธมิล อัตราและคำแนะนำระบุไว้ตามฉลาก

สรรพคุณ
ส่วนต่างๆ ของต้นราชพฤกษ์มีประโยชน์ดังนี้

ฝักแก่        เนื้อสีน้ำตาลดำและชื้นตลอดเวลา มีรสหวาน สามารถใช้เป็นยาระบายได้ โดยนำฝักมาต้มกับน้ำ และเติมเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือก่อนรับประทานอาหาร นอกจากนั้น ฝักแก่ยังมีสารที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทของแมลง เมื่อนำฝักมาบดผสมน้ำแช่ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน สารละลายที่กรองได้สามารถฉีดพ่นกำจัดแมลงและหนอนในแปลงผักได้
ฝักอ่อน      สามารถใช้ขับเสมหะได้
ใบ            สามารถนำมาใช้ในการฆ่าเชื้อโรคได้
ดอก         แก้แผลเรื้อรัง

ความเชื่อ
คนไทยในสมัยโบราณเชื่อว่า ควรปลูกต้นราชพฤกษ์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่อยู่อาศัย เพื่อให้ผู้ที่อยู่อาศัยในบ้านเรือนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นทวีคูณ ซึ่งความเป็นจริงคือทิศดังกล่าวจะได้รับแดดจัดตลอดช่วงบ่าย จึงควรปลูกต้นไม้ใหญ่เพื่อให้ลดความร้อนและทำให้ประหยัดพลังงานมากขึ้น

คนไทยในสมัยโบราณยังมีความเชื่อว่าบ้านใดปลูกต้นราชพฤกษ์ไว้ประจำบ้านจะช่วยให้มีเกียรติมีศักดิ์ศรี ด้วยคนไทยส่วนใหญ่ยอมรับว่าต้นราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ที่มีคุณค่าสูงและยังเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติไทยอีกด้วย นอกจากนี้มีความเชื่อว่า ใบของต้นราชพฤกษ์เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์เพราะในพิธีทางไสยศาสตร์ให้ใบทำน้ำพุทธมนต์สะเดาะเคราะห์ได้ผลดีดังนั้นจึงถือว่าต้นราชพฤกษ์เป็นไม้มงคลนาม


เกร็ด
ราชพฤกษ์เป็นดอกไม้ประจำจังหวัดขอนแก่น
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำ โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" มหาวิทยาลัยบูรพา
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัด นนทบุรี (ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๐)
ราชพฤกษ์เป็นต้นไม้ประจำ กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ นวมินทราชูทิศ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ อีสาน โรงเรียนนวมินทราชูทิศ ทักษิณ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี

บันทึกการเข้า
jacky
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,852

« ตอบ #2536 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 11:54:25 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 14 มกราคม 2552, 12:35:13
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 13 มกราคม 2552, 18:45:22
อ้างถึง
ข้อความของ patooman24 เมื่อ 12 มกราคม 2552, 17:39:10
 
ต้นไม้...ดอกไม้...ประจำชาติไทย
             
               เหตุที่เลือก ดอกราชพฤกษ์ เป็นดอกไม้ประจำชาติเพราะมีความเหมาะสมในหลายๆ ด้าน คือ เป็นดอกไม้จากต้นไม้ที่ถูกเสนอให้เป็นต้นไม้ประจำชาติเมื่อครั้งที่กรมป่าไม้เสนอไว้ เป็นต้นไม้ที่มีอายุยืน ทนทาน ปลูกขึ้นได้ดีทั่วทุกภาคของประเทศ เป็นต้นไม้พื้นเมืองที่รู้จักแพร่หลาย มีชื่อเรียกหลายชื่อต่างกันในแต่ละภาค เช่น ลมแล้ง คูน อ้อดิบ ชัยพฤกษ์เป็นไม้มงคลใช้ประโยชน์ในพิธีสำคัญๆ เช่น ลงหลักเมือง ลงเสาเอก ทำคฑาจอมพลและยอดธงชัยเฉลิมพลของกองทหาร ในช่วงฤดูร้อนชัยพฤกษ์จะออกดอกสะพรั่งทั้งต้น ช่อดอกมีรูปทรงสวยงาม สีเหลืองอร่ามเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติ รวมทั้งเป็นสีเดียวกับวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นอกจากนี้ความงามของช่อดอกและความหมายที่ดียังถูกจำลองแบบประดับไว้บนอินทรธนูของข้าราชการพลเรือนอีกด้วย


เอกสารอ้างอิง

พืชพรรณไม้มงคล ส.พลายน้อย บริษัท รวมสาส์น (1977) จำกัด
เดลินิวส์วาไรตี้ พงษ์พรรณ บุญเลิศ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2544
ไม้ต้นประดับดอก ชุดคู่มือคนรักต้นไม้ วชิรพงศ์ หวลบุตตา สำนักพิมพ์บ้านและสวน
 


ทู  เราสงสัย  อ้อดิบ  ที่ใต้เรียกบอนที่แกงกินได้ว่า   อ้อดิบค่ะ

คิดว่า  คำว่า  คูน  เป็นต้นเหตุของการเชื่อมไปหาคำว่า อ้อดิบ  จนกลายเป็นว่ามีภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์ว่าอ้อดิบไปด้วยค่ะ
เนื่องจาก  คูน เป็นภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์(น่าจะอีสาน  ส่วนเหนือเรียก ลมแล้ง-บานช่วงสงกรานต์)  แต่  คูนก็ยังเป็นชื่อเรียก  บอนชนิดนี้เหมือนกัน(ตอนเด็ก
ก็เคยได้ยิน  แต่ไม่มั่นใจและหาข้ออ้างอิงยังไม่ได้ -วันนี้เจอชิ้นหนึ่ง(ไว้จะหาเพิ่มอีก)  นอกจากบอนนี้จะถูกเรียกว่าคูน  ยังถูกเรียกว่า  ตูน โดยชาวเหนือ 

ลองอ่านกระทู้ที่  http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2006/06/K4457186/K4457186.html  ดูค่ะ

พูดถึงบอนคูน  หรือ อ้อดิบ (ในกระทู้นั้นให้ที่มาไว้น่าสนใจ)  เราเคยแต่แกงส้มปักษ์ใต้  มาทางเหนือเขากินดิบ ๆ กับอาหาร เช่น  ตำส้มโอ
ลอกเปลือกก้านออกและกินสด ๆ เลยค่ะ  ใหม่ ๆ กลัวจะคันปาก  แต่ไม่เป็นไร(ถ้าผิดชนิดก็คงแย่)
เพื่อนคนไหนนึกหน้าตาต้นบอนนี้ไม่ออก  โปรดบอกจะถ่ายรูปมาแปะให้ค่ะ

ต้นไม้ก็น่าสนใจ  กำลังสนใจคนเขียน  คุณ ส พลายน้อย  ที่เป็นผู้อาวุโสทางวรรณกรรมไทย ด้วยครับ
บันทึกการเข้า

จงทำงาน         อย่างมี         ความสุข
แต่อย่าหลงไปมีความสุขที่ได้อยู่กับงาน
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #2537 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 12:52:08 »

สวัสดีค่ะ อ่านได้ความรู้ดีจังเลยค่ะ บ่ฮู้บ่หัน
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2538 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 14:12:23 »

เอาภาพต้นบอน  คูน  อ้อดิบ มาฝากค่ะ(วันหลังค่อยมาใหม่ในสภาพปรุงเป็นแกงส้มนะคะ)



จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอ้อดิบ  ทำให้ทราบว่าบอนคล้าย ๆ กันนี้  ชื่อโหรา  ถ้าเข้าใจผิดไปกินเข้าก็มีอันตราย
หากโดนตา ทำให้ตาบอดได้  สนใจอ่านเพิ่มเติมได้ที่   http://admin.pha.nu.ac.th/toxic_plant/new4.html
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2539 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 14:25:55 »

อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 16 มกราคม 2552, 10:46:44
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 14 มกราคม 2552, 21:55:38
มารอส่งเจ้าของบ้านเข้านอน  ด้วยกล้วยไม้สีเขียวจ้า



 sleep sleep sleep

กล้วยไม้เขียวสวยจัง ขอบคุณมากค่ะ แม่เลี้ยงพัด
มัวแต่รายงานข่าวเลี้ยงต้อนรับมาดามมิลส์
เลยไม่มีเวลาแปะรูปดอกไม้ส่งนอน
ขอบคุณที่ช่วยค่ะ แม่เลี้ยง

เช็ค pm ด้วยนะคะ เรื่องนัดทานข้าวกันที่เชียงใหม่น่ะค่ะ

อ่านแล้วค่ะแจง  ยังไม่ได้วัดความยาว

ตื่นเต้นดีใจจังค่ะ
บันทึกการเข้า
CHOOM~POOH
Full Member
**


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 307

« ตอบ #2540 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 15:59:16 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 16 มกราคม 2552, 14:12:23
เอาภาพต้นบอน  คูน  อ้อดิบ มาฝากค่ะ(วันหลังค่อยมาใหม่ในสภาพปรุงเป็นแกงส้มนะคะ)



จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอ้อดิบ  ทำให้ทราบว่าบอนคล้าย ๆ กันนี้  ชื่อโหรา  ถ้าเข้าใจผิดไปกินเข้าก็มีอันตราย
หากโดนตา ทำให้ตาบอดได้  สนใจอ่านเพิ่มเติมได้ที่   http://admin.pha.nu.ac.th/toxic_plant/new4.html




ความรู้เพิ่มเติมจากวิชา useful plant ของเภสัช จุฬานะครับ
พวกพืชตระกูลบอนนะครับ เช่น  กระดาษขาว กระดาษแดง  บอน คูน เผือก พลูกฉีก บอนสี บุกและเพ็ชรสังฆาต
จะมีผลึกรูปเข็มที่ไม่ละลายน้ำชื่อว่า  calcium oxalate นซึ่งเมื่อถูกกัดหรือบีบจะทำให้ผลึกรูปเข็มออกมาครับ  และจะไปทิ่มแทงเนื้อเยื่อในปากแคลำคอ
ก่อให้เกิดการระคายเคือง บวมที่ปาก คอ ลิ้น กลืนน้ำลายลำบากและมีลักษณะเหมือนคนเป็นใบ้เพราะเสียงหาย
ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดในการนำไปประกอบอาหารคือต้องนำไปต้มให้สุกหรือนำไปแช่ด้วยกรด
จะทำให้ผลึกรูปเข็มเกิดการสลายตัวครับผม


สำหรับคนที่ชอบกินลูกเนียงนะครับ
ลูกเนียงจะมีผลึกของ calcium oxalate แล้วยังมีผลึกรูปหนึ่งคือ Djenkolic acid
เป็นผลึกรูปเข็มที่สามารถละลายน้ำได้  ดังนั้นเมื่อรัีบประทานเข้าไปจะเกิดการละลายในกระแสเลือดและไปตกตะกอนในระบบทางเดินปัสสาวะครับ  ก่อให้เิกิดรูปนิ่วได้  ดังนั้นวิธีที่จะทำให้ผลึกรูปเข็มชนิดนี้หมดไปมีด้วยกัน 3 วิธี คือ
1. นำลูกเนียงไปเพาะในกระบะทรายแล้วเอามีัดตัดส่วนต้นอ่อนออก(สารพิษมีมากในส่วนที่เป็นต้นอ่อน ยอดอ่อน)
2. นำลูกเนียงไปฝานเป็นแผ่นแล้วนำไปตากแดด
3. นำลูกเนียงไปต้มในสารละลายผงฟู (NaHCO3)


ขอบคุณครับ
 sorry
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2541 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 16:18:32 »

อ้างถึง
ข้อความของ CHOOM~POOH เมื่อ 16 มกราคม 2552, 15:59:16
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 16 มกราคม 2552, 14:12:23
เอาภาพต้นบอน  คูน  อ้อดิบ มาฝากค่ะ(วันหลังค่อยมาใหม่ในสภาพปรุงเป็นแกงส้มนะคะ)



จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอ้อดิบ  ทำให้ทราบว่าบอนคล้าย ๆ กันนี้  ชื่อโหรา  ถ้าเข้าใจผิดไปกินเข้าก็มีอันตราย
หากโดนตา ทำให้ตาบอดได้  สนใจอ่านเพิ่มเติมได้ที่   http://admin.pha.nu.ac.th/toxic_plant/new4.html




ความรู้เพิ่มเติมจากวิชา useful plant ของเภสัช จุฬานะครับ
พวกพืชตระกูลบอนนะครับ เช่น  กระดาษขาว กระดาษแดง  บอน คูน เผือก พลูกฉีก บอนสี บุกและเพ็ชรสังฆาต
จะมีผลึกรูปเข็มที่ไม่ละลายน้ำชื่อว่า  calcium oxalate นซึ่งเมื่อถูกกัดหรือบีบจะทำให้ผลึกรูปเข็มออกมาครับ  และจะไปทิ่มแทงเนื้อเยื่อในปากแคลำคอ
ก่อให้เกิดการระคายเคือง บวมที่ปาก คอ ลิ้น กลืนน้ำลายลำบากและมีลักษณะเหมือนคนเป็นใบ้เพราะเสียงหาย
ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดในการนำไปประกอบอาหารคือต้องนำไปต้มให้สุกหรือนำไปแช่ด้วยกรด
จะทำให้ผลึกรูปเข็มเกิดการสลายตัวครับผม


สำหรับคนที่ชอบกินลูกเนียงนะครับ
ลูกเนียงจะมีผลึกของ calcium oxalate แล้วยังมีผลึกรูปหนึ่งคือ Djenkolic acid
เป็นผลึกรูปเข็มที่สามารถละลายน้ำได้  ดังนั้นเมื่อรัีบประทานเข้าไปจะเกิดการละลายในกระแสเลือดและไปตกตะกอนในระบบทางเดินปัสสาวะครับ  ก่อให้เิกิดรูปนิ่วได้  ดังนั้นวิธีที่จะทำให้ผลึกรูปเข็มชนิดนี้หมดไปมีด้วยกัน 3 วิธี คือ
1. นำลูกเนียงไปเพาะในกระบะทรายแล้วเอามีัดตัดส่วนต้นอ่อนออก(สารพิษมีมากในส่วนที่เป็นต้นอ่อน ยอดอ่อน)
2. นำลูกเนียงไปฝานเป็นแผ่นแล้วนำไปตากแดด
3. นำลูกเนียงไปต้มในสารละลายผงฟู (NaHCO3)


ขอบคุณครับ
 sorry



น้องพู่เอามาเพิ่มพร้อมเรื่องลูกเนียง  สงสัยเน้นผู้นิยมอาหารปักษ์ใต้โดยเฉพาะ  ขอบคุณค่ะ

เพิ่มเติมให้อีกนิด  นำมาจากเว็บที่อ้างอิงไว้  ว่า  ถ้าหากได้รับพิษจาก แคลเซี่ยมออกซาเลต  ห้ามทำให้อาเจียนออกมาค่ะ
เพราะจะทำให้เยื่อบุปากและคอสัมผัสพิษอีก  ควรรีบดื่มนมเย็น หรือไอศครีม  แล้วพบแพทย์ค่ะ

ส่วนอาการเม้าท์ไม่หยุด  ไม่เกี่ยวกับการได้รับสารจากบอนพวกนี้ค่ะ  sing
บันทึกการเข้า
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #2542 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 16:40:45 »

อ้างถึง
ข้อความของ jacky เมื่อ 16 มกราคม 2552, 11:54:25
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 14 มกราคม 2552, 12:35:13
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 13 มกราคม 2552, 18:45:22
อ้างถึง
ข้อความของ patooman24 เมื่อ 12 มกราคม 2552, 17:39:10
 
ต้นไม้...ดอกไม้...ประจำชาติไทย
             
               เหตุที่เลือก ดอกราชพฤกษ์ เป็นดอกไม้ประจำชาติเพราะมีความเหมาะสมในหลายๆ ด้าน คือ เป็นดอกไม้จากต้นไม้ที่ถูกเสนอให้เป็นต้นไม้ประจำชาติเมื่อครั้งที่กรมป่าไม้เสนอไว้ เป็นต้นไม้ที่มีอายุยืน ทนทาน ปลูกขึ้นได้ดีทั่วทุกภาคของประเทศ เป็นต้นไม้พื้นเมืองที่รู้จักแพร่หลาย มีชื่อเรียกหลายชื่อต่างกันในแต่ละภาค เช่น ลมแล้ง คูน อ้อดิบ ชัยพฤกษ์เป็นไม้มงคลใช้ประโยชน์ในพิธีสำคัญๆ เช่น ลงหลักเมือง ลงเสาเอก ทำคฑาจอมพลและยอดธงชัยเฉลิมพลของกองทหาร ในช่วงฤดูร้อนชัยพฤกษ์จะออกดอกสะพรั่งทั้งต้น ช่อดอกมีรูปทรงสวยงาม สีเหลืองอร่ามเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติ รวมทั้งเป็นสีเดียวกับวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นอกจากนี้ความงามของช่อดอกและความหมายที่ดียังถูกจำลองแบบประดับไว้บนอินทรธนูของข้าราชการพลเรือนอีกด้วย


เอกสารอ้างอิง

พืชพรรณไม้มงคล ส.พลายน้อย บริษัท รวมสาส์น (1977) จำกัด
เดลินิวส์วาไรตี้ พงษ์พรรณ บุญเลิศ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2544
ไม้ต้นประดับดอก ชุดคู่มือคนรักต้นไม้ วชิรพงศ์ หวลบุตตา สำนักพิมพ์บ้านและสวน
 


ทู  เราสงสัย  อ้อดิบ  ที่ใต้เรียกบอนที่แกงกินได้ว่า   อ้อดิบค่ะ

คิดว่า  คำว่า  คูน  เป็นต้นเหตุของการเชื่อมไปหาคำว่า อ้อดิบ  จนกลายเป็นว่ามีภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์ว่าอ้อดิบไปด้วยค่ะ
เนื่องจาก  คูน เป็นภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์(น่าจะอีสาน  ส่วนเหนือเรียก ลมแล้ง-บานช่วงสงกรานต์)  แต่  คูนก็ยังเป็นชื่อเรียก  บอนชนิดนี้เหมือนกัน(ตอนเด็ก
ก็เคยได้ยิน  แต่ไม่มั่นใจและหาข้ออ้างอิงยังไม่ได้ -วันนี้เจอชิ้นหนึ่ง(ไว้จะหาเพิ่มอีก)  นอกจากบอนนี้จะถูกเรียกว่าคูน  ยังถูกเรียกว่า  ตูน โดยชาวเหนือ 

ลองอ่านกระทู้ที่  http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2006/06/K4457186/K4457186.html  ดูค่ะ

พูดถึงบอนคูน  หรือ อ้อดิบ (ในกระทู้นั้นให้ที่มาไว้น่าสนใจ)  เราเคยแต่แกงส้มปักษ์ใต้  มาทางเหนือเขากินดิบ ๆ กับอาหาร เช่น  ตำส้มโอ
ลอกเปลือกก้านออกและกินสด ๆ เลยค่ะ  ใหม่ ๆ กลัวจะคันปาก  แต่ไม่เป็นไร(ถ้าผิดชนิดก็คงแย่)
เพื่อนคนไหนนึกหน้าตาต้นบอนนี้ไม่ออก  โปรดบอกจะถ่ายรูปมาแปะให้ค่ะ

ต้นไม้ก็น่าสนใจ  กำลังสนใจคนเขียน  คุณ ส พลายน้อย  ที่เป็นผู้อาวุโสทางวรรณกรรมไทย ด้วยครับ

sorry   เราไม่ทราบว่าที่ท่านทูเอามาลงมันใหม่เก่าแค่ไหน  อย่างไรก็ต้องกราบขออภัยท่านผู้อาวุโสไว้ ณ ที่นี้ sorry
ขอให้เป็นไปเพื่อความเข้าใจ(สมมุติบัญญัติ) ที่ถูกต้องตรงกันก็แล้วกัน

อันที่จริงยังมีอีกจุดหนึ่งที่เราสงสัย  ชื่อ ราชพฤกษ์  ชัยพฤกษ์   กัลปพฤกษ์  ก็ยังสับสนปนเปกันอยู่ระหว่างต้นไม้สองชนิด  คือต้นที่มีดอกเหลืองเหมือนในภาพ
ที่ท่านทูนำมาลง   อันนี้เราเองเข้าใจมาตลอดว่าคือต้นไม้ประจำชาติไทย และชื่อว่าราชพฤกษ์   ส่วนกัลปพฤกษ์เราเข้าใจว่าคือเจ้าไม้ยืนต้นที่มีดอกสีชมพูฟอร์มดอก
เหมือนกับราชพฤกษ์(ดอกเดี่ยว ๆ นะไม่ใช่ช่อ)  บ้างก็ว่าเป็นต้นชัยพฤกษ์    งง งง    งง งง   งง งง  อาจารย์เก๊า  ช่วยด้วย เค้าไม่ยอม
บันทึกการเข้า
แจง-24
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: RCU2524
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 10,028

« ตอบ #2543 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 19:31:56 »

อ้างถึง
ข้อความของ CHOOM~POOH เมื่อ 14 มกราคม 2552, 22:33:57
ดีครับพี่แจง
ขับรถกลับชลอย่างปลอดภัยนะครับ
ตัวจริงพี่แจงสวยกว่าในรูปมากมายครับ
และก็ขอบคุณสำหรับวันนี้นะครับ
และก็เอาดอกไม้ไฮยาซินมาส่งก่อนนอนครับ




ขอบคุณน้องภู่ สำหรับดอกไม้สวยๆจ้า
ตัวจริงน้องภู่ ก็หล่อและผอมกว่าในรูป "มากมาย" เช่นกัน
(รุ่นป้าเขาใช้คำว่า "มากๆ"...มารุ่นน้องภู่ต้องใช้ "มากมาย" )

ขอบคุณทั้งน้องภู่ แม่เลี้ยงพัด และท่านทู สำหรับเรื่องราวดีๆเกี่ยวกับต้นไม้
รอท่านเก๊ามาเสริมทัพอีกคน....
โอ้....ช่างดูดีมีสาระ จนแทบจำบ้านตัวเองมิได้...
บันทึกการเข้า

   อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
pongpipat
Hero Cmadong Member
***


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,285

« ตอบ #2544 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 20:53:22 »

แถวบ้านเราไม่มีดอกไม้สู้กับเค้า  ขอส่งเด็กๆมาให้ละกันนะครับ คืนละคนสลับกับดอกไม้บ้านแจงนะ
บันทึกการเข้า
แจง-24
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: RCU2524
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 10,028

« ตอบ #2545 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 20:57:03 »

 เหอๆๆ 555....
"บัวเบบี๋" พันธุ์ใหม่...หน้าทะเล้นดีจริงๆ
ชอบ ชอบ !!!
บันทึกการเข้า

   อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
jacky
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,852

« ตอบ #2546 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 21:03:12 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 16 มกราคม 2552, 16:18:32
อ้างถึง
ข้อความของ CHOOM~POOH เมื่อ 16 มกราคม 2552, 15:59:16
อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 16 มกราคม 2552, 14:12:23
เอาภาพต้นบอน  คูน  อ้อดิบ มาฝากค่ะ(วันหลังค่อยมาใหม่ในสภาพปรุงเป็นแกงส้มนะคะ)



จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอ้อดิบ  ทำให้ทราบว่าบอนคล้าย ๆ กันนี้  ชื่อโหรา  ถ้าเข้าใจผิดไปกินเข้าก็มีอันตราย
หากโดนตา ทำให้ตาบอดได้  สนใจอ่านเพิ่มเติมได้ที่   http://admin.pha.nu.ac.th/toxic_plant/new4.html




ความรู้เพิ่มเติมจากวิชา useful plant ของเภสัช จุฬานะครับ
พวกพืชตระกูลบอนนะครับ เช่น  กระดาษขาว กระดาษแดง  บอน คูน เผือก พลูกฉีก บอนสี บุกและเพ็ชรสังฆาต
จะมีผลึกรูปเข็มที่ไม่ละลายน้ำชื่อว่า  calcium oxalate นซึ่งเมื่อถูกกัดหรือบีบจะทำให้ผลึกรูปเข็มออกมาครับ  และจะไปทิ่มแทงเนื้อเยื่อในปากแคลำคอ
ก่อให้เกิดการระคายเคือง บวมที่ปาก คอ ลิ้น กลืนน้ำลายลำบากและมีลักษณะเหมือนคนเป็นใบ้เพราะเสียงหาย
ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดในการนำไปประกอบอาหารคือต้องนำไปต้มให้สุกหรือนำไปแช่ด้วยกรด
จะทำให้ผลึกรูปเข็มเกิดการสลายตัวครับผม


สำหรับคนที่ชอบกินลูกเนียงนะครับ
ลูกเนียงจะมีผลึกของ calcium oxalate แล้วยังมีผลึกรูปหนึ่งคือ Djenkolic acid
เป็นผลึกรูปเข็มที่สามารถละลายน้ำได้  ดังนั้นเมื่อรัีบประทานเข้าไปจะเกิดการละลายในกระแสเลือดและไปตกตะกอนในระบบทางเดินปัสสาวะครับ  ก่อให้เิกิดรูปนิ่วได้  ดังนั้นวิธีที่จะทำให้ผลึกรูปเข็มชนิดนี้หมดไปมีด้วยกัน 3 วิธี คือ
1. นำลูกเนียงไปเพาะในกระบะทรายแล้วเอามีัดตัดส่วนต้นอ่อนออก(สารพิษมีมากในส่วนที่เป็นต้นอ่อน ยอดอ่อน)
2. นำลูกเนียงไปฝานเป็นแผ่นแล้วนำไปตากแดด
3. นำลูกเนียงไปต้มในสารละลายผงฟู (NaHCO3)


ขอบคุณครับ
 sorry



น้องพู่เอามาเพิ่มพร้อมเรื่องลูกเนียง  สงสัยเน้นผู้นิยมอาหารปักษ์ใต้โดยเฉพาะ  ขอบคุณค่ะ

เพิ่มเติมให้อีกนิด  นำมาจากเว็บที่อ้างอิงไว้  ว่า  ถ้าหากได้รับพิษจาก แคลเซี่ยมออกซาเลต  ห้ามทำให้อาเจียนออกมาค่ะ
เพราะจะทำให้เยื่อบุปากและคอสัมผัสพิษอีก  ควรรีบดื่มนมเย็น หรือไอศครีม  แล้วพบแพทย์ค่ะ

ส่วนอาการเม้าท์ไม่หยุด  ไม่เกี่ยวกับการได้รับสารจากบอนพวกนี้ค่ะ  sing

ได้ความรุ้ดีแท้ gek
บันทึกการเข้า

จงทำงาน         อย่างมี         ความสุข
แต่อย่าหลงไปมีความสุขที่ได้อยู่กับงาน
phraisohn
บักสน
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


บักสนแคมโบ้
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu89 (ปี 2549)
คณะ: วิทยาศาสตร์
กระทู้: 9,557

เว็บไซต์
« ตอบ #2547 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 21:20:44 »

ภู่นะครับ
เท่าที่ผมจำได้นะครับว่าต้นอ้อดิบรู้สุกว่าไม่ใช่ต้นราชพฤกษ์นะครับ
มันน่าจะเป็นพวกพืชตระกูลบอลอะครับ
เพราะ้เวลาแม่ทำอาหารก็จะบอกว่าให้บอกให้ไปบอกอ้อดิบก็จะไปผอมพวกที่คล้ายพวกบอลอะึคับ




ปล.พี่พัชครับ
ผมไม่ชอบอาหารใต้เลยครับเพราะมันมีกลิ่นเหม็นก็เลยไม่กินอะครับ
บันทึกการเข้า
แจง-24
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: RCU2524
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 10,028

« ตอบ #2548 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 21:23:18 »

คืนนี้ ขอมอบดอกไม้ราตรีสวัสดิ์เร็วหน่อยนะคะ
ก่อนที่บอร์ดจะถูกปิดปรับปรุง....



ขอส่งนอนคืนวันศุกร์ ด้วยดอกอัญชัญสีน้ำเงินอมฟ้าค่ะ...
หลับฝันดีนะคะ ทุกคน

sleep
บันทึกการเข้า

   อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
phraisohn
บักสน
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


บักสนแคมโบ้
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu89 (ปี 2549)
คณะ: วิทยาศาสตร์
กระทู้: 9,557

เว็บไซต์
« ตอบ #2549 เมื่อ: 16 มกราคม 2552, 23:44:49 »

อ้างถึง
ข้อความของ phraisohn เมื่อ 16 มกราคม 2552, 21:20:44
ภู่นะครับ
เท่าที่ผมจำได้นะครับว่าต้นอ้อดิบรู้สุกว่าไม่ใช่ต้นราชพฤกษ์นะครับ
มันน่าจะเป็นพวกพืชตระกูลบอลอะครับ
เพราะ้เวลาแม่ทำอาหารก็จะบอกว่าให้บอกให้ไปบอกอ้อดิบก็จะไปผอมพวกที่คล้ายพวกบอลอะึคับ




ปล.พี่พัชครับ
ผมไม่ชอบอาหารใต้เลยครับเพราะมันมีกลิ่นเหม็นก็เลยไม่กินอะครับ

ปล. คำพูดด้านบนเป็นของพี่ผู้เด้อคับ พี่ผู้ใช้ user ผมพิมพ์เมื่อตอนเย็น เพราะว่า แวะมาห้องผมครับผม
สำหรับผม ไม่รู้ว่าชอบอาหารใต้หรือเปล่า แต่สะตอ เป็นสิ่งที่อร่อยมากๆคับ แถวบ้านผมขายแพงเวอร์
ฝักละหลายบาท....  ชอบกินกับน้ำพริก พูดแล้วก็หิว แหะๆ
บันทึกการเข้า
  หน้า: 1 ... 100 101 [102] 103 104 ... 258   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มวลสมาชิกสมาคม คณาจารย์ และนิสิตเก่าทุกคน ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย  พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ <;))))><