แจง-24
|
|
« ตอบ #2500 เมื่อ: 10 มกราคม 2552, 22:19:33 » |
|
แสงมันไม่พอน่ะ ท่านเก๊า กล้องมันเลยเก็บสีไว้ไม่ได้ ถ้าใช้ flash สักนิด จะแจ่มค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2502 เมื่อ: 11 มกราคม 2552, 18:01:26 » |
|
ดอกไม้สวยค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2503 เมื่อ: 11 มกราคม 2552, 18:02:19 » |
|
ดอกไม้สวยค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2504 เมื่อ: 11 มกราคม 2552, 18:03:00 » |
|
ดอกไม้สวยค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #2505 เมื่อ: 11 มกราคม 2552, 21:16:37 » |
|
กลอนทั้งหมดมันก็ดีเพราะไม่ขัด พอโดนตัดเปลี่ยนไปไม่ได้ผล ความมันขาดเรื่องเลยเปลี่ยนไม่น่ายล ตัวกระผมเลยต้องแจวแผ๋วออกไป ตัวลูงป๋องยังไปตัดมาจากบ้าน คนละงานคนละเรื่องจริงใช่ไหม โดนป้าแจงตบกัดหมัดหนักไป เกือบชีพวายดีเผ่นก่อนเจ้าของมา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2506 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 08:46:33 » |
|
ต่อ-กลอน กันได้ทันทีทันควันเลยค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ตี้ถาปัด
|
|
« ตอบ #2507 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 14:34:43 » |
|
ท่าทางจะเปลี่ยนจากแจกดอกไม้มาแจกผักตบแทนกันแล้ว อิ อิ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2437041
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2508 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 14:47:39 » |
|
ทศพิธราชธรรมในการบริหารตามหลักอริยสัจ4 1)การให้ทาน
พระเปรมประฏิบัติเบื้อง ทศธรรม์ถ้วยแฮ ทานวัตรพัสดุสรรพ์ สิ่งให้ ทวยเถมอลมั่วหมู่พรร ณิพกพวก แคลนนา วันละวันตั้งไว้ หกห้างแห่งสถานฯ
จากหนังสือการบริหารตามหลักอริยสัจสี่ ศ ดร สำเริง บุญเรืองรัตน์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #2509 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 17:15:29 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
พธู ๒๕๒๔
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
ซื่อต่อนายไม่หน่ายมิตรใกล้ชิดลูกน้องคุ้มครองชาวBan
ออฟไลน์
รุ่น: 64
คณะ: niti
กระทู้: 7,842
|
|
« ตอบ #2510 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 17:39:10 » |
|
ต้นไม้...ดอกไม้...ประจำชาติไทย จากอดีตที่ผ่านมากว่า 50 ปี ทางราชการมีความพยายามหลายครั้งในการกำหนดให้มีสัญลักษณ์ประจำชาติไทย โดยเฉพาะการกำหนด ต้นไม้ และ ดอกไม้ ประจำชาติ เริ่มต้นที่กรมป่าไม้ได้ชักชวนให้ประชาชนสนใจต้นราชพฤกษ์หรือคูณมาตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ.2494 โดยรัฐบาลมีมติให้ถือวันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันต้นไม้ประจำปีของชาติ (arbour day) มีการชักชวนให้ปลูกต้นไม้ที่มีประโยชน์ชนิดต่างๆ มากมาย ในขณะเดียวกันก็ได้มีการเสนอว่า ต้นราชพฤกษ์ น่าจะถือเป็นต้นไม้ประจำชาติ กระทั่งในปี พ.ศ.2506 มีการประชุมเพื่อกำหนดสัญลักษณ์ต้นไม้และสัตว์ประจำชาติเป็นครั้งแรก โดยกรมป่าไม้ได้เสนอให้ ต้นราชพฤกษ์ หรือ ต้นคูณ ไม้มงคลที่มีประโยชน์และรู้จักกันอย่างแพร่หลายเป็นต้นไม้ประจำชาติ สำหรับสัตว์ประจำชาติก็คือ ช้างเผือก สัตว์ที่มีคุณค่าเกี่ยวข้องกับประเพณีไทยและประวัติศาสตร์ไทยมายาวนาน การเสนอครั้งนั้นไม่ได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการ ดังนั้นตลอดเวลาที่ผ่านมาสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความเป็นไทยจึงมีหลากหลาย ตั้งแต่สถานที่สำคัญๆ สัตว์ ดอกไม้ ที่คนไทยคุ้นเคยและพบเห็นบ่อย เช่น พระปรางค์วัดอรุณฯ เรือสุพรรณหงส์ ดอกบัว ดอกมะลิ ดอกพุทธรักษา แมวไทย เช่นเดียวกับ ต้นราชพฤกษ์ และ ช้างเผือก ยังคงถูกยกย่องให้เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติตลอดมา ปี พ.ศ.2530 มีการส่งเสริมให้ปลูกต้นราชพฤกษ์อีกครั้ง เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ โดยมีการส่งเสริมให้ปลูกต้นราชพฤกษ์ทั่วประเทศจำนวน 99,999 ต้น ทุกวันนี้จึงมีต้นราชพฤกษ์อยู่มากมายทั่วประเทศไทย ข้อสรุปเรื่องสัญลักษณ์ประจำชาติดูเหมือนจะยังไม่ชัดเจน กระทั่งช่วงปี พ.ศ.2544 คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ ได้นำเรื่องดังกล่าวกลับมาเสนออีกครั้ง และมีข้อสรุปเสนอให้มีการกำหนดสัญลักษณ์ประจำชาติ 3 สิ่งคือ ดอกไม้ สัตว์และสถาปัตยกรรม และการพิจารณาที่ผ่านมาเสนอให้กำหนดดอกไม้ประจำชาติคือ ดอกราชพฤกษ์ สัตว์ประจำชาติ คือ ช้างไทย และสถาปัตยกรรมประจำชาติคือ ศาลาไทย เหตุที่เลือก ดอกราชพฤกษ์ เป็นดอกไม้ประจำชาติเพราะมีความเหมาะสมในหลายๆ ด้าน คือ เป็นดอกไม้จากต้นไม้ที่ถูกเสนอให้เป็นต้นไม้ประจำชาติเมื่อครั้งที่กรมป่าไม้เสนอไว้ เป็นต้นไม้ที่มีอายุยืน ทนทาน ปลูกขึ้นได้ดีทั่วทุกภาคของประเทศ เป็นต้นไม้พื้นเมืองที่รู้จักแพร่หลาย มีชื่อเรียกหลายชื่อต่างกันในแต่ละภาค เช่น ลมแล้ง คูน อ้อดิบ ชัยพฤกษ์เป็นไม้มงคลใช้ประโยชน์ในพิธีสำคัญๆ เช่น ลงหลักเมือง ลงเสาเอก ทำคฑาจอมพลและยอดธงชัยเฉลิมพลของกองทหาร ในช่วงฤดูร้อนชัยพฤกษ์จะออกดอกสะพรั่งทั้งต้น ช่อดอกมีรูปทรงสวยงาม สีเหลืองอร่ามเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติ รวมทั้งเป็นสีเดียวกับวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ นอกจากนี้ความงามของช่อดอกและความหมายที่ดียังถูกจำลองแบบประดับไว้บนอินทรธนูของข้าราชการพลเรือนอีกด้วย
เอกสารอ้างอิง
พืชพรรณไม้มงคล ส.พลายน้อย บริษัท รวมสาส์น (1977) จำกัด เดลินิวส์วาไรตี้ พงษ์พรรณ บุญเลิศ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ไม้ต้นประดับดอก ชุดคู่มือคนรักต้นไม้ วชิรพงศ์ หวลบุตตา สำนักพิมพ์บ้านและสวน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
เว้นชั่ว ประพฤติชอบประกอบแต่สิ่งดีงาม ทำจิตใจให้ผ่องแผ้ว
|
|
|
แจง-24
|
|
« ตอบ #2511 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 20:38:22 » |
|
ขอบคุณสำหรับดอกคูณสีเหลือง ต้อนรับวันจันทร์ นะจ๊ะท่านทู รูปมาพร้อมเรื่อง ได้ความรู้ดีมากจ้ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
|
|
|
khesorn mueller
|
|
« ตอบ #2512 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 20:44:46 » |
|
ไม่มีดอกไม้มาฝากพี่แจง มีแต่แอบมาแฮพเข้ากรุ... แฮพด่ะ
nn.(มือแฮพ)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
แจง-24
|
|
« ตอบ #2513 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 20:48:35 » |
|
ตั้งใจเอามาแปะให้ ไม่แฮพสิ มีเคือง...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
|
|
|
khesorn mueller
|
|
« ตอบ #2514 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 20:53:22 » |
|
winterไม่เหลือดอกไม้แล้วพี่! ในสวนมีแต่หิมะคลุมคะ ตอนนี้ -4°celciusคะ nn.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
แจง-24
|
|
« ตอบ #2516 เมื่อ: 12 มกราคม 2552, 20:59:49 » |
|
เห็นรูปเด็กน้อยของครูตี๋แล้ว ก็หายเครียดเหมือนกันจ้ะ รูปน่ารักมากทุกรูป... อยากให้ทุกวันเป็นวันเด็ก...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
|
|
|
|
ตี้ถาปัด
|
|
« ตอบ #2518 เมื่อ: 13 มกราคม 2552, 09:07:14 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
2437041
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #2519 เมื่อ: 13 มกราคม 2552, 09:10:00 » |
|
ดูรูปเด็กๆ และดอกไม้ มีความสุขสดชื่นดีค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #2520 เมื่อ: 13 มกราคม 2552, 18:35:41 » |
|
มาชวนให้แก้ข้อสงสัยเรื่องชื่อ ดอกผักตบ และดอกสามหาวค่ะ
อ่านพบในหนังสือของบ้านและสวน ว่า ผักตบชวา เรียกอีกชื่อว่า ผักป่อง หรือ สวะ
ส่วนผักสามหาว เป็นอีกชื่อหนึ่งของผักตบไทยค่ะ ซึ่งอาจจะเคยได้เห็น ก้านใบจะยาวกว่าผักตบชวา ที่สำคัญ ลักษณะดอกเป็นสีม่วง กระจุกเล็ก ๆ ค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #2521 เมื่อ: 13 มกราคม 2552, 18:45:22 » |
|
ทู เราสงสัย อ้อดิบ ที่ใต้เรียกบอนที่แกงกินได้ว่า อ้อดิบค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
jum2524
|
|
« ตอบ #2523 เมื่อ: 13 มกราคม 2552, 21:31:39 » |
|
อ้าว!!..แจงไปซะแล้ว...งั้นพรุ่งนี้เจอกันจ้ะ..
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
พัช 24
|
|
« ตอบ #2524 เมื่อ: 14 มกราคม 2552, 12:35:13 » |
|
คิดว่า คำว่า คูน เป็นต้นเหตุของการเชื่อมไปหาคำว่า อ้อดิบ จนกลายเป็นว่ามีภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์ว่าอ้อดิบไปด้วยค่ะ เนื่องจาก คูน เป็นภาษาถิ่นเรียก ราชพฤกษ์(น่าจะอีสาน ส่วนเหนือเรียก ลมแล้ง-บานช่วงสงกรานต์) แต่ คูนก็ยังเป็นชื่อเรียก บอนชนิดนี้เหมือนกัน(ตอนเด็ก ก็เคยได้ยิน แต่ไม่มั่นใจและหาข้ออ้างอิงยังไม่ได้ -วันนี้เจอชิ้นหนึ่ง(ไว้จะหาเพิ่มอีก) นอกจากบอนนี้จะถูกเรียกว่าคูน ยังถูกเรียกว่า ตูน โดยชาวเหนือ
ลองอ่านกระทู้ที่ http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2006/06/K4457186/K4457186.html ดูค่ะ
พูดถึงบอนคูน หรือ อ้อดิบ (ในกระทู้นั้นให้ที่มาไว้น่าสนใจ) เราเคยแต่แกงส้มปักษ์ใต้ มาทางเหนือเขากินดิบ ๆ กับอาหาร เช่น ตำส้มโอ ลอกเปลือกก้านออกและกินสด ๆ เลยค่ะ ใหม่ ๆ กลัวจะคันปาก แต่ไม่เป็นไร(ถ้าผิดชนิดก็คงแย่) เพื่อนคนไหนนึกหน้าตาต้นบอนนี้ไม่ออก โปรดบอกจะถ่ายรูปมาแปะให้ค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|