26 พฤศจิกายน 2567, 04:00:07
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 183 184 [185] 186 187 ... 357   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ØØØ พี่ตี้ถาปัด2..ชวนคุย ØØØ  (อ่าน 1682527 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 7 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
churaipatara
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 27,182

« ตอบ #4600 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 09:52:37 »

แวะมาชมภาพสวยๆค่ะตี้ บ่ฮู้บ่หัน
      บันทึกการเข้า
เก๊า(24)
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,069

« ตอบ #4601 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 19:16:04 »

อ้าวว...เนปาล จบแล้วหรือครับ ลุงตี้  ยังไม่หายอยากเลย
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4602 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 20:25:24 »

ยัง........ยังไม่จบครับเฮียเก๊า ค่อยๆครับ ไม่รีบครับ เหนื่อยครับขอพักแปร๊บนึง
เห็นเพื่อนๆหายไปหลายคนเลยรอก่อน แปะไปมากๆเดี๋ยวตามไม่ทัน มาได้แค่ครึ่งเดียวอยู่ครับ
เผอิญว่าใช้คอมพ์ที่ Office  ใรการ Load ภาพในตอนเช้ามันไวดี แต่ข้อมูลอยู่ที่บ้านก็เลยต้องมาใส่ทีหลังครับ

เดี๋ยวเริ่มกันต่ออีกนี๊สสสสสนึงนะ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4603 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 20:50:08 »





วันที่ห้าของการเดินทาง

โดยการอำนวยการในการจัดทัวร์ของมาดามกุ้ง วันนี้เราวางแผนที่จะออกไป Honeymoon ในแบบคู่บ่าวสาวในต่างเมืองออกไปใน Package แบบ 2  วัน 1 คืน  โดยเป้าหมายเมืองที่เราจะไปคือเมือง Pokhara เมืองที่ขึ้นชื่อสำหรับการไป Trekking  ของชาวต่างชาติที่หลงไหลการเดินเขาที่มาเยือนเนปาล แต่สำหรับเราแล้วหลงไหลการเดิน Shopping ในเมืองซะมากกว่าที่จะออกไปลุยกับเขาในแบบนั้น โดยการเดินทางไปกลับในครั้งนี้เราจะเดินทางด้วยเครื่องบินเนื่องจากไม่อยากเสี่ยงกับการถูกปิดถนนของผู้ประท้วงในระหว่างทางและเป็นการประหยัดเวลาในการเดินทางที่มีน้อยนิด แต่ก็เสียโิกาสที่จะได้สัมผัสกับชีวิตและทิวทัศน์ในชนบท

สายการบินภายในประเทศมี่จะพาเราไปยังเมือง Pokhara ได้แก่สายการบิน Yeti Airlines เที่ยวบินที่ YT-129 เครื่องออกจากเมือง Kathmandu เวลา 10.45 น. ถึงเมือง Pokhara เวลา 11.15 น. ระหว่างการรอ Check-In ที่สนาบินก็มีเรื่องตื่นเต้นในการใช้ภาษาที่สื่อกันไม่รู้เรื่องต้องอาศัย Mr. Dun ลูกน้องคุณเจี๊ยบมาช่วยเป็นล่ามให้เลยทำให้การ Check-In เป็นไปด้วยความสะดวกราบรื่น เรานั่งรอเครื่องท่ามกลางเหล่านักท่องเที่ยวที่จะไป Trekking ที่มีการเตรียมตัวกันมาเป็นอย่างดี สักครู่ใหญ่ก็ได้ยินเสียงประกาศถึงการ Delay  ของเที่ยวบินทุกเที่ยวอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของอากาศที่จุดหมายปลายทา ทำให้ไม่สามารถนำเครื่องขึ้นบินได้ ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติที่อาจจะเจอเหตุการณ์แบบนี้บ่อยๆ ในที่สุดการเปลี่ยนแปลง Flight โดยฉับพลันก็เกิดขึ้นนแบบไม่คาดฝันทำเอาเราลังเลว่าจะพาเราไปยังเมือง Pokhora  หรือไปที่อื่นที่เราไม่รู้จัก เครื่อง Jetstream-41 เที่ยวบินที่ OY-137 ถูกจัดเข้ามาแทนที่อย่างเร่งด่วนพอเราขึ้นเครื่องได้ เครื่องก็ออกทะยานขึ้นสู่ฟ้าพาเราลัดเลาะสู่เมือง Pokhara ในทันที เรามาถึงเมือง Pokhara ล่าช้ากว่ากำหนดเล็กน้อยคนขับรถทีมารอเราถึงกับตกใจนึกว่าหาเราไม่เจอ ระหว่งที่บินอยู่บนท้องฟ้า ภาพเทือกเขา Annapurna Himalayan Range ปรากฏอยู่ตรงหน้าแบบใกล้ๆตลอดเส้นทางสวยงามมากแทบไม่่าเชื่อว่ามีแบบนี้ให้เห็นใกล้ๆ โดยเฉพาะเจ้า Fishtail หรือ Machhapuchhre ที่มีชื่อ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4604 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 20:54:00 »



      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4605 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 20:56:07 »





ภาพเจ้า Machhapuchhre หรือ Fishtail ที่ปรากฏกายให้เห็นต่อหน้าผู้มาเยือนในวันที่เดินทางไปถึง นับเป็นความโชคดีที่เรายังมีโอกาสได้เห็นถึงแม้จะไปแค่ 2 วัน 1 คืน เนื่องจากก่อนหน้านี้ 1วันฟ้าปิดและมีเมฆฝนและหลังจากที่เราไปถึงแค่ไม่กี่ชั่วโมงฟ้าก็ปิดไม่สามารถมองเห็นอีกเลยจนกระทั่งถึงวันกลับ ดังนั้นภาพนี้จึงเป็นภาพที่เห็นชัดที่สุดเท่าที่สามรถถ่ายรูปบันทึกมาได้
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4606 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 20:58:29 »

 เหนื่อย

      บันทึกการเข้า

2437041
แจง-24
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: RCU2524
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 10,028

« ตอบ #4607 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43 »

 เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง
      บันทึกการเข้า

   อยู่อย่างต่ำ กระทำอย่างสูง
jum2524
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,077

« ตอบ #4608 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:03:22 »

อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 20:58:29
เหนื่อย



เอ้า!!...ลุงตี้สู้ๆ...เพื่อนๆรอดูอยู่จ๊าาาาา...
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4609 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:04:34 »

อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


ยาวถึงสิ้นเดือนหน้าเลยเหรอ จะให้ลุงพักรอก่อนมั้ย
ช่วงนี้แฟนคลับหายไปหมด แปะรูปและคุยอยู่คนเดียว รู้สึกแปลกๆ
เหมือนคุยกับตัวเองเลย ชักเหมือน Tom Hank เข้าไปทุกทีแล้ว
      บันทึกการเข้า

2437041
jum2524
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,077

« ตอบ #4610 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:09:07 »

อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง

อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


เอ้า!!...นี่ก้อเกิดอาการแฮ่กๆๆๆอีกคน  ป้าแจงก้อสู้ๆ...หากเหนื่อยนักก้อพักก่อน  แล้วค่อยลุยต่อจ๊าาาา...
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4611 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:10:56 »

อ้างถึง
ข้อความของ jum2524 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:03:22
อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 20:58:29
เหนื่อย



เอ้า!!...ลุงตี้สู้ๆ...เพื่อนๆรอดูอยู่จ๊าาาาา...


สงสัยจะเชียร์ไม่ขึ้นแล้ว.........ล้อเล่นนะ
ยังไงก็ต้องใส่ต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะจบ แต่อาจจะช้าบ้างเร็วบ้างตามความสะดวกนะ
แหม......คุณนายเชียร์น่าดูเลยนะ ไอ้ที่แปะทั้งรูปทั้งข้อมูลลงไป อ่านหมดแล้วเหรอ
เดี๋ยวมีสอบนะคุณนาย คริ คริ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4612 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:14:09 »



Pokhara Sub-Metropolitan City (Nepali: पोखरा उपमहानगरपालिका Pokhara Up-Mahanagarpalika) is a city of close to 200,000 inhabitants in central Nepal located at 28.25°N, 83.99°E, 198 km west of Kathmandu. It is the third largest city of Nepal after Kathmandu and Biratnagar. It is the Headquarters of Kaski District, Gandaki Zone and the Western Development Region. It is also one of the most popular tourist destinations of the country.
      บันทึกการเข้า

2437041
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #4613 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:14:47 »

อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:04:34
อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


ยาวถึงสิ้นเดือนหน้าเลยเหรอ จะให้ลุงพักรอก่อนมั้ย
ช่วงนี้แฟนคลับหายไปหมด แปะรูปและคุยอยู่คนเดียว รู้สึกแปลกๆ
เหมือนคุยกับตัวเองเลย ชักเหมือน Tom Hank เข้าไปทุกทีแล้ว


ลุงตี้ ทะยอยลงทีละน้อยก็ได้ค่ะ  เพื่อน ๆ จะได้ค่อย ๆ ละเลียด

ที่เพื่อน ๆ หายไปเขาคงพยายามหาศัพท์ใหม่ ๆ แทนคำว่า  สวย  ยอด เยี่ยม วิจิตร ประณีต...มาใช้อยู่น่ะค่ะ
เมื่อคืนวานชวนวิศว์มาดูเขายังชอบและสงสัยบางมุมกล้องว่าถ่ายให้สวยมีชีวิตเรื่องราวได้อย่างไรเลยค่ะ
แม่ก็เลยคุยซะเลยว่า  รุ่นพี่วัจน์นะเนี่ย
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4614 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:15:26 »



Pokhara is situated in the northwestern corner of the Pokhara Valley, which is a widening of the Seti Gandaki valley. The Seti River and its tributaries have dug impressive canyons into the valley floor, which are only visible from higher viewpoints or from the air. To the east of Pokhara is the municipality of Lekhnath, a recently established town in the valley.
In no other place do mountains rise so quickly. In this area, within 30 km, the elevation rises from 1,000 m to over 7,500 m. Due to this sharp rise in altitude the area of Pokhara has one of the highest precipitation rates of the country (over 4,000 mm/year). Even within the city there is a noticeable difference in the amount of rain between the south of the city by the lake and the north at the foot of the mountains.
The climate is sub-tropical but due to the elevation the temperatures are moderate: the summer temperatures average between 25–35 °C, in winter around 5–15 °C.
In the south the city borders on Phewa Tal (lake) (4.4 km² at an elevation of about 800 m above sea level), in the north at an elevation of around 1,000 m the outskirts of the city touch the base of the Annapurna mountain range. From the southern fringes of the city 3 eight-thousanders (Dhaulagiri, Annapurna, Manaslu) and, in the middle of the Annapurna range, the Machapuchhre (Nepali language: Machhapuchhre: 'Fishtail') with close to 7,000 m can be seen. This mountain dominates the northern horizon of the city and its name derives from its twin peaks, not visible from the south. The porous underground of the Pokhara valley favours the development of caves of which three prominent ones can be found within the city: Mahendra, Bat and Gupteswor. In the south of the city, a tributary of the Seti coming from Fewa Tal disappears at Patale Chhango (Nepali for Hell's Falls, also called Devi's or David's Falls, after someone who supposedly fell into the falls) into an underground gorge, to reappear 500 metres further south.
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4615 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:18:20 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:14:47
อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:04:34
อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


ยาวถึงสิ้นเดือนหน้าเลยเหรอ จะให้ลุงพักรอก่อนมั้ย
ช่วงนี้แฟนคลับหายไปหมด แปะรูปและคุยอยู่คนเดียว รู้สึกแปลกๆ
เหมือนคุยกับตัวเองเลย ชักเหมือน Tom Hank เข้าไปทุกทีแล้ว


ลุงตี้ ทะยอยลงทีละน้อยก็ได้ค่ะ  เพื่อน ๆ จะได้ค่อย ๆ ละเลียด

ที่เพื่อน ๆ หายไปเขาคงพยายามหาศัพท์ใหม่ ๆ แทนคำว่า  สวย  ยอด เยี่ยม วิจิตร ประณีต...มาใช้อยู่น่ะค่ะ
เมื่อคืนวานชวนวิศว์มาดูเขายังชอบและสงสัยบางมุมกล้องว่าถ่ายให้สวยมีชีวิตเรื่องราวได้อย่างไรเลยค่ะ
แม่ก็เลยคุยซะเลยว่า  รุ่นพี่วัจน์นะเนี่ย


แม่เลี้ยงกับน้องวิศว์ก็พูดซ้า  ได้ยินแล้วเป็นปลื้มเลยครับแม่เลี้ยง ลุงว่าอีกไม่นาน้องวัจน์แกก็คงจะไม่แพ้ลุงหรอก เพราะดูแล้วมีแวว ขอให้ได้อาวุธและประสบการณ์อีกหน่อยรับรอง สบายมาก
      บันทึกการเข้า

2437041
jum2524
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,077

« ตอบ #4616 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:20:59 »

อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:04:34
อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


ยาวถึงสิ้นเดือนหน้าเลยเหรอ จะให้ลุงพักรอก่อนมั้ย
ช่วงนี้แฟนคลับหายไปหมด แปะรูปและคุยอยู่คนเดียว รู้สึกแปลกๆ
เหมือนคุยกับตัวเองเลย ชักเหมือน Tom Hank เข้าไปทุกทีแล้ว


ตามดูอยู่จ๊า...แต่ไม่ค่อยได้มาเม้นท์  ทีหลังจะไม่ดูอยู่เงียบๆ  จะส่งเสียงเป็นเพื่อนลุงตี้นะ...นะ...
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4617 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:23:35 »

อ้างถึง
ข้อความของ jum2524 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:20:59
อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:04:34
อ้างถึง
ข้อความของ แจง-24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:01:43
เหนื่อย แฮ่กๆๆๆ (เหมือนกัน)

มาเช็คชื่อ...อยากดูน้ำลายหก แต่ยังไม่มีเวลา
ห้ามเอารูปออกจนกว่าจะสิ้นเดือนหน้า
ไม่งั้นมีเคืองนะลุง


ยาวถึงสิ้นเดือนหน้าเลยเหรอ จะให้ลุงพักรอก่อนมั้ย
ช่วงนี้แฟนคลับหายไปหมด แปะรูปและคุยอยู่คนเดียว รู้สึกแปลกๆ
เหมือนคุยกับตัวเองเลย ชักเหมือน Tom Hank เข้าไปทุกทีแล้ว


ตามดูอยู่จ๊า...แต่ไม่ค่อยได้มาเม้นท์  ทีหลังจะไม่ดูอยู่เงียบๆ  จะส่งเสียงเป็นเพื่อนลุงตี้นะ...นะ...


ค่อยยังชั่ว...อ่านแล้วช่วยส่งเสียงบ้างก็ดี จะได้รู้ว่ายังติดตามกันอยู่
      บันทึกการเข้า

2437041
พัช 24
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,574

« ตอบ #4618 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:24:07 »

อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:18:20
แม่เลี้ยงกับน้องวิศว์ก็พูดซ้า  ได้ยินแล้วเป็นปลื้มเลยครับแม่เลี้ยง ลุงว่าอีกไม่นาน้องวัจน์แกก็คงจะไม่แพ้ลุงหรอก เพราะดูแล้วมีแวว ขอให้ได้อาวุธและประสบการณ์อีกหน่อยรับรอง สบายมาก
[/quote]
พูดความจริงค่ะ ลุงตี้  คนพูดก็ปลื้มเพื่อนเหมือนกัน
สิ่งที่เห็นจากภาพลุงตี้  เรียกไม่ถูกว่าอะไร  ภาพมันดูสวยชุ่มฉ่ำมีชิีวิต

ขอให้หลานได้สมพรปากลุงตี้ค่ะ
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4619 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:25:24 »



Pokhara lies on an important old trading route between Tibet and India. In the 17th century it was part of the influential Kingdom of Kaski which again was one of the Chaubise Rajaya (24 Kingdoms of Nepal) ruled by a branch of the Shah Dynasty. Many of the mountains around Pokhara still have medieval ruins from this time. In 1752 the King of Kaski invited Newars from Bhaktapur to Pokhara to promote trade. Their heritage can still be seen in the architecture along the streets in Bhimshen Tol (Old Pokhara). Hindus, again, brought their culture and customs from Kathmandu and settled in the whole Pokhara valley. In 1786 Prithvi Narayan Shah added Pokhara into his kingdom. It had by then become an important trading place on the routes from Kathmandu to Jumla and from India to Tibet.
Originally Pokhara was largely inhabitated by Brahmins, Chhetris and Thakuris (the major villages were located in Parsyang, Malepatan, Pardi and Harichowk areas of modern Pokhara) and the Majhi community near the Fewa Lake. Later in the 18th century A.D the newars of Bhaktapur migrated to Pokhara and settled near main business locations such as Bindhyabasini temple, Nalakomukh and Bhairab Tole. The establishment of a British recruitment camp brought larger Magar and Gurung communities to Pokhara. At present the Khas (Brahmin, Chhetri, Thakuri and Dalits), Gurung (Tamu) and Magars form the dominant community of Pokhara. There is also a sizeable population of Newaris in Pokhara. A small Muslim community is located on eastern fringes of Pokhara generally called Miya Patan.
The nearby hill villages around Pokhara has a mixed community of Khas and Tamu. Small Magar communities are also present mostly in the southern outlying hills. Newari community is almost non-existent in the villages of outlying hills outside the Pokhara city limits.
From 1959 to 1962 some 300,000 refugees fled to Nepal from neighbouring Tibet after it was annexed by China. Four refugee camps were established in and around Pokhara: Tashipalkhel, Tashiling, Paljorling and Jambling. These camps have evolved into well built settlements, each with a gompa (Buddhist monastery), chorten and its particular architecture, and Tibetans have become a visible minority in the city.
Until the end of the 1960s the town was only accessible by foot and it was considered even more a mystical place than Kathmandu. The first road was completed in 1968 (Siddhartha Highway) after which tourism set in and the city grew rapidly. The area along the Phewa lake has developed into one of the major tourism hubs of Nepal.
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4620 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:31:18 »

อ้างถึง
ข้อความของ พัช 24 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:24:07
อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:18:20
แม่เลี้ยงกับน้องวิศว์ก็พูดซ้า  ได้ยินแล้วเป็นปลื้มเลยครับแม่เลี้ยง ลุงว่าอีกไม่นาน้องวัจน์แกก็คงจะไม่แพ้ลุงหรอก เพราะดูแล้วมีแวว ขอให้ได้อาวุธและประสบการณ์อีกหน่อยรับรอง สบายมาก
พูดความจริงค่ะ ลุงตี้  คนพูดก็ปลื้มเพื่อนเหมือนกัน
สิ่งที่เห็นจากภาพลุงตี้  เรียกไม่ถูกว่าอะไร  ภาพมันดูสวยชุ่มฉ่ำมีชิีวิต

ขอให้หลานได้สมพรปากลุงตี้ค่ะ

[/quote]

รูปที่เห็นทั้งหมดนี่ก็ได้เทคโนโลยีมาช่วยอยู่บ้างนะแม่เลี้ยง ปรับสีปรับแสงช่วย
ไม่งั้นก็อาจจะไม่ชุ่มฉำ่เท่านี้หรอก ต้องชมคนที่คิดเทคโนโลยี เขาเก่งจริงๆ

ไม่ต้องห่วงเรื่องหลาน รับรองเก่งแน่ เพราะพ่อกับแม่เขาก็เก่งเป็นแบบอย่างอยู่แล้ว
ทั้งขยัน ทั้งละเอียด ปราณีตไม่แพ้กัน อย่างนี้ไม่ไปไหนเสีย ลูกไม้ย่อมหล่นไม่ไกลต้น
นี่ยังไม่เคยเจอน้องวิศว์เลย น้องวัจน์ตอนเจอก้ไม่ค่อยได้คุยกันเท่าไหร่ เพราะคุยไม่เก่งด้วยกันทั้งคู่ ทั้งลุงทั้งหลาน
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4621 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:33:07 »



Pokhara spans 8 km from north to south and 6 km from east to west but, unlike Kathmandu, it is quite loosely built up and still has much green space. The Seti Gandaki flowing through the city from north to south divides the city roughly in two halves with the down-town area of Chipledunga in the middle, the old town centre of Bagar in the north and the tourist district of Lakeside (Baidam) in the south all lying on the western side of the river. The gorge through which the river flows is crossed at five points, the major ones are (from north to south): K.I. Singh Pul, Mahendra Pul and Prithvi Highway Pul. The eastern side of town is mainly residential.
About half of all tourists visiting Pokhara are there for the start or end of a trek to the Annapurna Base Camp and Mustang.
Lake Phewa was slightly enlarged by damming. It is in danger of silting up because of the inflow during the monsoon. The outflowing water is partially used for hydro power. The dam collapsed in the late 1970s and has been rebuilt. The power plant is located about 100 m below at the bottom of the Phusre Khola gorge. Water is also diverted for irrigation into the southern Pokhara valley.

The eastern Pokhara Valley receives irrigation water through a canal running from a reservoir by the Seti in the north of the city. Phewa lake is also used for commercial fishing. The tourist area is along the north shore of the lake (Baidam, Lakeside and Damside). It is mainly made up of little shops, little hotels, restaurants and bars. The larger hotels can be found on the southern and south-eastern fringes of the city, from where the view of the mountains is best. To the east of the valley, in Lekhnath, are several smaller lakes, the largest being Begnas Tal and Rupa Tal. Begnas Tal is also known for its fishery projects. There are no beaches in the valley, but one can rent boats in Phewa and Begnas Tal.
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4622 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:34:33 »



Phewa Lake, Phewa Tal or Fewa Lake is a lake of Nepal located in the Pokhara Valley near Pokhara and Sarangkot. It is the second largest lake in Nepal and lying at an altitude of 784 m (2,572 ft) it covers an area of about 4.43 km2 (1.7 sq mi) with an average depth of about 8.6 m (28 ft) with maximum water depth is 22.8 m (75 ft) when measured with echo-sounder (depth measuring gauge; PLASTIMO ECHOTEST II) on 5 December 2009. Maximum water capacity of the lake is approximately 46 million cubic meters (37,000 acre feet).[1] Annapurna looms in the distance from the lake and the lake is famous for the reflection of Mount Machapuchare on its surface. The holy Barahi mandir (temple) is situated on the island located in between in the lake.

The eastern Pokhara Valley receives irrigation water through a canal running from a reservoir by the Seti River in the north of the city. Phewa Lake is also used for commercial fishing. The tourist area is along the north shore of the lake (Lake Side and Dam Side). It is mainly made up of little shops, little hotels, restaurants and bars. The larger hotels can be found on the southern and south-eastern fringes of the Pokhara city, from where the view of the mountains, mainly Machapuchare, or Fishtail Mountain, is seen best. To the east of the valley are few smaller and few bigger lakes, the largest being Begnas Tal and Rupakot Tal. Begnas Tal is also known for its fishery projects.
Phewa Lake was slightly enlarged by damming. It is in danger of silting up because of the inflow during the monsoon. The outflowing water is partially used for hydro power. The dam collapsed in the late 1970s and it was rebuilt by the Chinese. The power plant is located about 100 m (330 ft) below at the bottom of the Phusre Khola gorge.
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #4623 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:41:09 »

เอาละครับ วันนี้สงสัยต้องพอแค่นี้ก่อน ไว้พรุ่งนี้ค่อยลงต่อนะ
ราตรีสวัสดิ์ทุกคนครับ หลับฝันดีมีความสุขและรอยยิ้มก่อนนอน
sleep
      บันทึกการเข้า

2437041
jum2524
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,077

« ตอบ #4624 เมื่อ: 17 มิถุนายน 2553, 21:43:42 »

อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:10:56
อ้างถึง
ข้อความของ jum2524 เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 21:03:22
อ้างถึง
ข้อความของ ตี้ถาปัด เมื่อ 17 มิถุนายน 2553, 20:58:29
เหนื่อย



เอ้า!!...ลุงตี้สู้ๆ...เพื่อนๆรอดูอยู่จ๊าาาาา...


สงสัยจะเชียร์ไม่ขึ้นแล้ว.........ล้อเล่นนะ
ยังไงก็ต้องใส่ต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะจบ แต่อาจจะช้าบ้างเร็วบ้างตามความสะดวกนะ
แหม......คุณนายเชียร์น่าดูเลยนะ ไอ้ที่แปะทั้งรูปทั้งข้อมูลลงไป อ่านหมดแล้วเหรอ
เดี๋ยวมีสอบนะคุณนาย คริ คริ


อ้าวเหรอ!!...อย่างงี้ต้องกลับไปอ่านซำไปซำมาหลายๆเที่ยว เพราะสมองชักเหี่ยวฝ่อ   ใกล้เป็นสว.ก้องี้แหละ...
      บันทึกการเข้า
  หน้า: 1 ... 183 184 [185] 186 187 ... 357   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มวลสมาชิกสมาคม คณาจารย์ และนิสิตเก่าทุกคน ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย  พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ <;))))><