27 มิถุนายน 2567, 14:45:38
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 242 243 [244] 245 246 ... 357   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ØØØ พี่ตี้ถาปัด2..ชวนคุย ØØØ  (อ่าน 1556644 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 11 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6075 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 12:30:28 »

ขอพักเบรคเตรียมรูปภาพก่อนนะครับ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6076 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 12:44:18 »


      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6077 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 12:45:55 »




ในระหว่างที่ต้องรอรถบัสเที่ยวต่อไปที่จะพาเราขึ้นเขาไปชมปราสาท เราก็แวะถ่ายรูปบ้านเรื่อนที่เมืองนี้ซึ่งค่อนข้างจะสวยในแบบผู้ดีแตกต่างจากบ้านในชนบทที่ผ่านมา และเวลาที่เหลือก็แวะซื้อของที่ระลึกกันเล็กน้อยพอเป็นพิธีเพื่อให้คุณนายตาสว่างขึ้น นี่ขนาดยืนถ่ายรูปยังหลับเลย คิดดู
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6078 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 12:48:29 »




รถบัสพาเราขึ้นเขามายังจุดชมวิวสะพานแมรี่ หมอกหนาทึบและป่าสนทำให้เราเริ่มสงสัยขึ้นมาว่า ที่สะพานเราจะโขคดีที่สามารถมองเห็นตัวปราสาทหรือไม่ ขณะที่เดินไปผ่านป่าสนที่สะพานก้ได้แต่ภาวนาขอให้เกิดปาฏิหารย์ให้หมอกจางหายไปและได้เห็นปราสาทให้หายอยากเถอะ ไม่เช่นนั้นการเดินทางมาครั้งนี้คงจะเสียเที่ยวเป็นแน่ แต่โชคไม่เข้าข้างเราภาพเบื้องหน้าที่จุดชมวิวบนสะพานคงมีแต่หมอกหนาทึบมองไม่เห็นอะไรเลยนอกจากหัวล้านของฝรั่งที่ยืนถ่ายรูปความว่างเปล่าอยู่ด้านหน้า........แป่ว...แป่ว...แป่ว

เฮ้ย......อะไรวะ มีแต่ความว่างเปล่า ผิดหวังเลยเรา
      บันทึกการเข้า

2437041
phraisohn
บักสน
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


บักสนแคมโบ้
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu89 (ปี 2549)
คณะ: วิทยาศาสตร์
กระทู้: 9,557

เว็บไซต์
« ตอบ #6079 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 13:31:06 »

เห้นพี่ตี้ทำหนังสือภาพ ผมก็อยากทำบ้างเหมือนกัน เอาไว้ทำพอร์ตตัวเอง
ไม่ทราบว่าแพงหรือเปล่าครับพี่?  แถวสยามแพงเหลือเกิน
      บันทึกการเข้า
Leam
Cmadong Member
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 23,776

« ตอบ #6080 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 13:44:26 »


สวัสดีครับ.....น้องตี้..น้องสน และพี่น้องทุกท่าน

ไม่อยากจะเชื่อเลยว่า.......รูปอย่างนี้ งานอย่างนี้ จะทำได้โดยคนๆเดียว ไม่มีทีมงานและการเตรียมการมาก่อน

ชื่นชมและนับถือน้องตี้จริงๆ.
      บันทึกการเข้า
เก๊า(24)
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,069

« ตอบ #6081 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 15:09:39 »

ยังคงเส้นคงวา สวยงาม ประทับใจ สำหรับภาพการท่องเที่ยว ของลุงตี้
      บันทึกการเข้า
phraisohn
บักสน
Administrator
Cmadong ชั้นเซียน
*****


บักสนแคมโบ้
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu89 (ปี 2549)
คณะ: วิทยาศาสตร์
กระทู้: 9,557

เว็บไซต์
« ตอบ #6082 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 16:24:16 »

อ้างถึง
ข้อความของ Leam เมื่อ 18 ธันวาคม 2553, 13:44:26

สวัสดีครับ.....น้องตี้..น้องสน และพี่น้องทุกท่าน

ไม่อยากจะเชื่อเลยว่า.......รูปอย่างนี้ งานอย่างนี้ จะทำได้โดยคนๆเดียว ไม่มีทีมงานและการเตรียมการมาก่อน

ชื่นชมและนับถือน้องตี้จริงๆ.


สวัสดีครับพี่แหลม
      บันทึกการเข้า
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6083 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:29:53 »

อ้างถึง
ข้อความของ phraisohn เมื่อ 18 ธันวาคม 2553, 13:31:06
เห้นพี่ตี้ทำหนังสือภาพ ผมก็อยากทำบ้างเหมือนกัน เอาไว้ทำพอร์ตตัวเอง
ไม่ทราบว่าแพงหรือเปล่าครับพี่?  แถวสยามแพงเหลือเกิน

ราคาก็ค่อนข้างสูงอยู่นะน้องสน ต้องอาศัยซื้อคูปองเวลาเค้าไปออกงานจะถูกลงมากเหมือนกัน
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6084 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:34:27 »

อ้างถึง
ข้อความของ Leam เมื่อ 18 ธันวาคม 2553, 13:44:26

สวัสดีครับ.....น้องตี้..น้องสน และพี่น้องทุกท่าน

ไม่อยากจะเชื่อเลยว่า.......รูปอย่างนี้ งานอย่างนี้ จะทำได้โดยคนๆเดียว ไม่มีทีมงานและการเตรียมการมาก่อน

ชื่นชมและนับถือน้องตี้จริงๆ.


ขอบพระคุณครับพี่แหลม เล่นชมกันแบบนี้มีเขินเหมือนกันนะครับ
อันที่จริงก็ไม่ได้ยากครับ พี่แหลมก็สามารถทำได้
และสามารถทำคนเดียวได้เพียงโหลดโปรแกรมของร้านมานั่งทำ
แต่ต้องใช้เวลาและความอดทนสูงหน่อย
โดยเฉพาะต้องอาศัยแรงบันดาลใจอยู่พอสมควร บางวันจัดได้หน้าเดียว
และก็จัดที่เหลือไม่ลงตัวก็ต้องหยุดไว้ก่อน และไปหาข้อมูลมาเสริมเพื่อสร้าง

อย่างพี่แหลมไม่ยากหรอกครับ เพราะเห็นพี่หารูปและข้อมูลมาลงในเวบแล้ว
บอกได้คำเดียวว่า สบม. ยห. ครับ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6085 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:35:23 »

อ้างถึง
ข้อความของ เก๊า(24) เมื่อ 18 ธันวาคม 2553, 15:09:39
ยังคงเส้นคงวา สวยงาม ประทับใจ สำหรับภาพการท่องเที่ยว ของลุงตี้

ขอบคุณครับเฮียเก๊า ถ้าว่างก็แวะมาดูบ่อยๆนะครับ และขอให้อากงหายไวไวนะครับ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6086 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:38:25 »

มาดูภาพเล่าเรื่องกันต่อนะครับ



วันนี้ดูช่างจะเป็นวันที่โหดร้ายสำหรับการท่องเที่ยวของเราเป็นอย่างมาก เริ่มตั้งแต่เช้าเจอทั้งฝนทั้งหมอกไม่มีโอกาสได้เห็นสิ่งที่สวยงามท่ามกลางแสงแดดเลยแม้แต่น้อย การตามล่าหาดอกไม้ก็ยังไม่ม๊โอกาสได้พบเจอเลยแม้แต่น้อย แถมการชมวิวปราสาททีตั้งใจไว้และอุตส่าห์ดั้นด้นซื้อทัวร์มาดู ก็มีอันต้องผิดหวังอย่างแรง นับเป็นการท่องเที่ยวที่ผิดหวังมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา

เสียงบ่นระงมพร้อมกับอาการเดินคอตกออกจากจุดชมวิวสะพานแมรี่ เพื่อออกเดินต่อไปยังตัวปราสาทซึ่งก็คิดว่าน่าจะผิดหวังอีกตามเคยเนื่องจากคงมองไม่ค่อยเห็นอะไรเท่าไหร่เพราะหมอกยังคงหนาแน่นอยู่ ความสวยงาของปราสาทไม่อาจเผยโฉมให้เราได้เห็นคงต้องซื้อโปสการ์ดไปเป็นที่ระลึกไว้ดูแทนก็แล้วกันเพราะในตัวปราสาทเขาก้ห้ามถ่ายรูปซะด้วย ฉะนั้นนอกเหนือจากรูปที่ถ่ายได้ที่เหลือคงต้องใช้ความทรงจำจากสายตาและสมองบันทึกเอาไปก็แล้วกัน
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6087 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:39:46 »


      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6088 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:45:11 »



เด็กสาววัยรุ่นชาวเยอรมัน กำลังง่วนอยู่กับการวาดภาพเลยแอบถ่ายมา
คนมุงดูเยอะมากช่างกล้าวาดต่อหน้าคนนับร้อย
เป็นลุงคงจะเขินวาดไม่ออกเป็นแน่ มือไม้สั่นไม่มีสมาธิแน่เลย
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6089 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:51:30 »




Neuschwanstein Castle (German: Schloss Neuschwanstein, pronounced [nɔʏˈʃvaːnʃtaɪ̯n]) is a 19th-century Romanesque Revival palace on a rugged hill above the village of Hohenschwangau near Füssen in southwest Bavaria, Germany. The palace was commissioned by Ludwig II of Bavaria as a retreat and as an homage to Richard Wagner.
The palace was intended as a personal refuge for the reclusive king, but it was opened to the paying public immediately after his death in 1886. Since then over 60 million people have visited Neuschwanstein Castle. More than 1.3 million people visit annually, with up to 6,000 per day in the summer. The palace has appeared prominently in several movies and was the inspiration for Disneyland's Sleeping Beauty Castle.

The municipality of Schwangau lies at an elevation of 800 m (2,620 ft) at the south west border of the German state of Bavaria. Its surroundings are characterized by the transition between the Alpine foothills in the south (towards the nearby Austrian border) and a hilly landscape in the north that appears flat by comparison. In the Middle Ages, three castles overlooked the village. One was called Schwanstein Castle. In 1832 Ludwig's father King Maximilian II of Bavaria bought its ruins to replace them by the comfortable neo-Gothic palace known as Hohenschwangau Castle. Finished in 1837, the palace became his family's summer residence, and his elder son Ludwig (born 1845) spent a large part of his childhood here.


Vorderhohenschwangau Castle and Hinterhohenschwangau Castle sat on a rugged hill overlooking Schwanstein Castle, two nearby lakes (Alpsee and Schwansee), and the village. Separated only by a moat, they jointly consisted of a hall, a keep, and a fortified tower house. In the 19th century only ruins remained of the medieval twin castles, but those of Hinterhohenschwangau served as a lookout place known as Sylphenturm.

The ruins above the family palace were known to the crown prince from his excursions. He first sketched one of them in his diary in 1859. When the young king came to power in 1864, the construction of a new palace in place of the two ruined castles became the first in his series of palace building projects. Ludwig himself called the new palace New Hohenschwangau Castle – only after his death was it renamed Neuschwanstein. The confusing result is that Hohenschwangau and Schwanstein have effectively swapped names: Hohenschwangau Castle replaced the ruins of Schwanstein Castle, and Neuschwanstein Castle replaced the ruins of the two Hohenschwangau Castles.

      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6090 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:53:51 »




อยากเห็นภาพเต็มตาของปราสาทก็ดูรูปวาดจากโปสการ์ดที่ซื้อมาแทนไปก่อนก็แล้วกันนะ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6091 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 20:54:44 »



Neuschwanstein Castle
Neuschwanstein Castle was commenced by the Bavarian King Ludwig II in 1869 and never completed. He saw it as a monument to medieval culture and kingship, which he revered and wanted to imitate. Built and furnished in medieval styles but equipped with what at the time was the latest technology, it is the most famous work of historicism and the embodiment of German idealism.

Formative Influences and Models
The father of Ludwig II, Maximilian II, acquired the nearby Hohenschwangau Castle, seat of the knights of Schwangau in the Middle Ages, and rebuilt it from 1832 in the Gothic style. Here Ludwig, who was born in 1845, developed a pasion for the Middle Ages. He learned much about the legends and history of the period from the murals and through avid reading. From 1861 he was decisively influenced by his encounter with the music dramas of Richard Wagner, who heightened the effect of the medieval sagas with incredibly powerful music. Ludwig first saw " Lohengrin" and " Tannhauser "  These were follow by " Tristan und Isode " and " Der Ring des Nibelungen ", and Wagner's adaptation of the saga of the Grail King Parzival (Parsifal), with whome Ludwig II identified in his later years and with whom hewas identified by Wagner.

One of the famous castles in Germany, the Wartburg, had been renovated and refurnished in 1867 and became a direct model foe Neuschwanstein. In the 19th century, building in historical styles meant "perfecting" them, also with the help of modern technology and historical studies. As a thorough-going idealist, Ludwig II clung to an already completely outdated belief in such perfection.

Building History
The father of Ludwig II, Maximilian II, acquired the nearby Hohenschwangau Castle, seat of the knights of Schwangau in the Middle Ages, and rebuilt it from 1832 in the Gothic style. Here Ludwig, who was born in 1845, developed a pasion for the Middle Ages. He learned much about the legends and history of the period from the murals and through avid reading. From 1861 he was decisively influenced by his encounter with the music dramas of Richard Wagner, who heightened the effect of the medieval sagas with incredibly powerful music. Ludwig first saw " Lohengrin" and " Tannhauser "  These were follow by " Tristan und Isode " and " Der Ring des Nibelungen ", and Wagner's adaptation of the saga of the Grail King Parzival (Parsifal), with whome Ludwig II identified in his later years and with whom hewas identified by Wagner.

One of the famous castles in Germany, the Wartburg, had been renovated and refurnished in 1867 and became a direct model foe Neuschwanstein. In the 19th century, building in historical styles meant "perfecting" them, also with the help of modern technology and historical studies. As a thorough-going idealist, Ludwig II clung to an already completely outdated belief in such perfection.
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6092 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 21:10:42 »

 เหนื่อย



Rooms and Ideals
The main rooms of Neuschwanstein are decorated primarily with murals of scenes from the Germanic and Nordic sagas on which Richard Wagner had based his works. The programme was designed by the art and literary historian Hyazinth Holland. From the outset Ludwig II wanted his "New Castle" to have a larger and more magnificent version of the Wartburg's "Singer's Hall" as a monument to the chivalric culture of the Middle Ages. The final result was a combination of the motifs from two Wartburg halls, the "Singers' Hall" and the "Festival Hall" which however were not intended for performances or even festivals. The other commemorative room, the Throne Hall, was only added in 1881, when in his later years Ludwig II also wanted a version of the legendary Grail Hall correspondenind to the description of medieval poets, in order to glorify Christian kingship. This room is however also a reference to his own dynasty. The room programme, the most comprshensive and complicated of the 19th century, was designed by Ludwig II himself, who was well read and interested in many different areas. For structural reasons it had a steel construction like a modern functional building, which was encased in plaster. Each of the adjacent residential rooms is dedicated to a saga. From 1880 a "cabinet" was turned into a small grotto, based on the Venus grotto in "Tannhauser" with coloured electric lighting and real waterfall.

      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6093 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 21:14:19 »



เค้าไม่อนุญาตให้ถ่ายรูปข้างในตัวปราสาท เราก็ดูจากภาพที่หาข้อมูลและจินตนาการเอาก็แล้วกันนะครับ
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6094 เมื่อ: 18 ธันวาคม 2553, 21:24:58 »

เอาละครับ วันนี้เห็นจะพอแค่นี้ก่อน
พรุ่งนี้เราจะลงจากปราสาทและเข้าเมือง Fussen กันต่อ
คืนนี้ราตรีสวัสดื์ และหลับฝันดีนะครับ

 bye bye

 sleep
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6095 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2553, 13:36:57 »

หลังจากที่เดินชมภายในปราสาทโดยไม่ได้ถ่ายรูป ซึ่งอึดอัดมากคันมือยิกๆแต่กลัวโดนไล่ออกมา
ซึงที่เห็นในรูปวาดนั้น สวยสู้ของจริงไม่ได้เลย ในระหว่างทางออกก็ถือโอกาสเก็บภาพวิวทิวทัศน์จากเบื้องสูงลงมาเป็นระยะ


      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6096 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2553, 13:39:00 »



"Neuschwanstein"
Although heavily in debt, Ludwig II always wanted to go on building. When the banks threatened to seize his property, the government had him certified insane and interned him in Berg Palace. Here, on 13 June 1886, he died in Lake Starnberg. His "New Castle" , which he now thoughtof not as the Wartburg but as the Grail Castle, and which on outsider was ever allowed to enter, was opened to the public from 1 August 1886. It was only named Neuschwanstein after his death and is one of the besr-known and most frequency visited and photographed buildings in the world
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6097 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2553, 13:42:02 »


      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6098 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2553, 13:43:42 »



ในระหว่างที่เดินชมภายในตัวปราสาทและแอบบันทึกภาพวิวภายนอกในมุมสูงอยู่นั้น ภาพวิวสะพานแมรี่ที่มองจากตัวปราสาท จุดประกายความหวังให้กับพวกเราที่กำลังเดินชมกันอยู่ในช่วงจบ ให้รีบเร่งเดินออกจากตัวปราสาทและเดินย้อนกลับไปที่สะพานแมรี่อีกครั้งหนึ่ง เพื่อกลับไปบันทึกภาพปราสาท ณ จุดชมวิวสะพานแมรี่ เส้นทางเดินที่เราเดิมขามาเป็นระยะทางหลายร้อยเมตรนั้นได้กลายเป็นถนนแห่งความหวังในขากลับที่พวดเรเดินเร็วกันแบบไม่คิดชีวิต ด้วยเกรงว่าจะไปถ่ายรูปไม่ทันอากาศที่แปรปรวนอยู่ตลอดเวลา อาการกึ่งเดินกึ่งวิ่งพร้อมกับบันทึกภาพที่เราไม่เห็นตอนขามาไปตลอดทางเป็นสิ่งที่ทุกคนทำตามๆกัน เสียงพรำ่บ่นและอาการเดินคอตกออกจากสะพานแมรี่ตอนขามาคงจะได้รับรู้ไปถึงเทวดาเบื้องบนจึงช่วยกันออกแรงเป่าไล่เมฆหมอกที่หนาทึบให้จางหายไปเพื่อให้เราได้มีโอกาสบันทึกภาพปราสาทอย่างสมหวังที่จุดชมวิว โดยไม่ต้องเสียค่าทัวร์มาใหม่ และก็นอนหลับฝันดีในคืนนั้น
      บันทึกการเข้า

2437041
ตี้ถาปัด
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2524
คณะ: สถาปัตยกรรมศาสตร์
กระทู้: 10,337

« ตอบ #6099 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2553, 13:47:46 »


      บันทึกการเข้า

2437041
  หน้า: 1 ... 242 243 [244] 245 246 ... 357   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

สมาคมนิสิตเก่าหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มวลสมาชิกสมาคม คณาจารย์ และนิสิตเก่าทุกคน ขอน้อมเกล้าถวายความอาลัย  พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ <;))))><