ติ๋ม จันทร์ฉาย
Hero Cmadong Member
เป็นญาติพี่น้องกับซีมะโด่ง
ออฟไลน์
รุ่น: 2516
กระทู้: 1,692
|
|
« ตอบ #100 เมื่อ: 08 กันยายน 2557, 21:36:19 » |
|
น่าสนใจติดตามน้องเริงเที่ยวมากๆค่ะ
|
ติ๋ม จันทร์ฉาย
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #102 เมื่อ: 09 กันยายน 2557, 20:50:47 » |
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #103 เมื่อ: 09 กันยายน 2557, 20:55:18 » |
|
|
|
|
|
Dtoy16
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2516
คณะ: อักษรศาสตร์
กระทู้: 1,424
|
|
« ตอบ #104 เมื่อ: 10 กันยายน 2557, 12:24:44 » |
|
สวัสดีค่ะน้องเริง ตามมาเที่ยวตอนพักเที่ยง พี่เพิ่งทราบว่า ดร.ประพจน์เรียนที่อุทัยธานี เมืองนี้มีแต่คนเก่งๆ พี่ป๋องก็คนอุทัยเช่นกัน ตอนปีหนึ่งเพื่อนบอกว่าดร.ท่องดิกเชนารี ได้ทั้งเล่ม พี่ตกใจแทบแย่ ดีที่อยู่หอได้หาเรื่องสนุก สนุก หลากหลายหายกลัวคนเก่ง
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #105 เมื่อ: 10 กันยายน 2557, 12:58:22 » |
|
ขออนุญาตครับ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ เกิดที่จังหวัดอุทัยธานี เป็นนักภาษาศาสตร์และนักอักษรศาสตร์ชาวไทย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวรรณคดีบาลีและภาษาสันสกฤต พระไตรปิฎกฉบับภาษาจีน และพระพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #106 เมื่อ: 10 กันยายน 2557, 13:06:23 » |
|
ประวัติการศึกษา
จบชั้นประถมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเมืองอุทัยธานี จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจากโรงเรียนวัดราชบพิธ มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาบาลี-สันสกฤต จากภาควิชาภาษาตะวันออกคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้คะแนนเฉลี่ยระดับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จากคณะอักษรศาสตร์ สาขาเดียวกัน ได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ไปศึกษาต่อด้านพุทธศาสน์ศึกษา ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา จนสำเร็จดุษฎีบัณฑิต ด้านพุทธศาสน์ศึกษา(PhD in Buddhist Studies) ก่อนไปทำปริญญาเอกที่อเมริกา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์เคยไปค้นคว้าวิจัยด้านพุทธศาสน์ศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส และหลังจากสำเร็จปริญญาเอกก็ได้ทุนไปทำวิจัยเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #107 เมื่อ: 10 กันยายน 2557, 20:16:46 » |
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #108 เมื่อ: 10 กันยายน 2557, 20:20:40 » |
|
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #110 เมื่อ: 12 กันยายน 2557, 20:43:37 » |
|
งานฉลอง ๑๐๐ ปี เสด็จประพาสต้น รัชกาลที่ ๕ เมื่อ ๘ ปีก่อน
20 สิงหาคม 2549 ค่ำคืนนี้ที่ริมฝั่งแม่น้ำสะแกกรังบริเวณหน้าศาลากลางวังหวัดอุทัยธานีดูคึกคักไปด้วยผู้คนที่ออกมายืนชมเรือโบราณหลายลำที่ประดับไฟระย้าจอดรายเรียงเป็นขบวนอยู่หน้าศาลากลาง ห่างออกไปทั้งซ้ายและขวาไม่ไกลนักมีดวงไฟลอยเรี่ยผิวน้ำเป็นระยะๆ ดูเหมือนกระทงสาย เสียงเพลงเห่เรือดังเจื่อยแจ้วมาจากเรือลำหน้า ถัดมาเป็นเรือลำขนาดย่อมมีชายใส่ชุดทหารมหาดเล็กโบราณยืนถือดาบอยู่เต็มลำ ตามด้วยเรือลำใหญ่ที่มีผู้โดยสารแต่งชุดไทยรัตนโกสินทร์อยู่เต็มลำ มีท่านผู้ว่าจังหวัดอุทัยธานีและรองผู้ว่าและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของจังหวัดนั่งอยู่ด้านหน้า ตามไปด้วยเรือของผู้ร่วมงานที่แต่งตัวย้อนยุคอีกสามลำ ขบวนเรือล่องช้าๆ ไปตามลำน้ำสะแกกรังจากหน้าศาลากลางจังหวัดเพื่อไปยังวัดอุโปสถารามหรือวัดโบสถ์ ซึ่งเป็นสถานที่จัดงาน “ ฉลองครบรอบ 100 ปี เสด็จประพาสต้นรัชกาลที่๕ “ วันนี้เมื่อ 100 ปีที่แล้วพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ ๕ ทรงเสด็จประพาสต้นเมืองอุทัยธานี ทรงเสด็จมาทางชลมาค ( ทางเรือ ) มาตามแม่น้ำเจ้าพระยาจนถึงอำเภอมโนรมย์เมืองชัยนาทก็แยกเข้าสู่แม่น้ำสะแกกรังแล้วมาขึ้นที่วัดอุโปสถารามแห่งนี้ ทางจังหวัดอุทัยธานีโดยมีท่านผู้ว่าฯ ปรีชา บุตรศรี เป็นแม่งานจัดงานฉลองครบรอบ 100 ปี เสด็จประพาสต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นเพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาทิคุณที่ทรงมีต่อประสกนิกรชาวอุทัยธานี และจะจัดขึ้นทุกปีเพื่อเป็นงานประจำปีของอุทัยธานี
|
|
|
|
Dtoy16
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2516
คณะ: อักษรศาสตร์
กระทู้: 1,424
|
|
« ตอบ #111 เมื่อ: 12 กันยายน 2557, 21:16:44 » |
|
น้องเริง เสด็จประพาสต้นทุกที่พี่ชอบมาก ซึ่งแต่ละที่มีรายละเอียดให้ใครไปมาได้อ่านจะดี ขอบคุณข้อมูลของดร.ประพจน์ ตอนนี้กำลังได้รับเชิญไปสอนศาสนาที่ประเทศ....ไม่แน่ใจ แต่เป็นประเทศทางตะวันตก
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #112 เมื่อ: 14 กันยายน 2557, 08:56:50 » |
|
ครับ แต่ละแห่งน่าสนใจมาก
วันนี้อากาศดี น่าไปชมวัดเก่านะ5. 5
|
|
|
|
Dtoy16
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2516
คณะ: อักษรศาสตร์
กระทู้: 1,424
|
|
« ตอบ #113 เมื่อ: 14 กันยายน 2557, 09:52:04 » |
|
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #114 เมื่อ: 14 กันยายน 2557, 13:40:01 » |
|
คุณต้อย อ้าว...แล้วกัน อนุรักษ์ไว้ทำไม ?? เก่ามากแล้ว เดี๋ยวหลังคาก็รั่ว เครื่องไม้บนหลังคาก็จะผุ สีก็ถลอกไปมากแล้ว !! รื้อแล้วสร้างหลังใหม่ คนงานก่อสร้างมีงานทำ คนเขียนแบบมีงานทำ ต้องซื้อวัสดุก่อสร้าง หิน ปูน เหล็ก ทราย สี กระเบื้องมุงหลังคา เครื่องเขียน เครื่องไฟเพดาน จิปาถะ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ปั๊ม GDP ให้เพิ่มขึ้น เพื่อให้ต่างชาติมั่นใจ สร้างเสร็จมีงานฉลอง คนบันเทิงมีงานทำ ร้านออกงานขายของได้ เงินสะพัดอีกหลายรอบ ประชาชนทั่วทิศไปเที่ยวงาน มีความสุขถ้วนทั่วถึงลูกเด็กเล็กแดง รื้อเถอะ....ขอบอก...เชื่อมั๊ย ??
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #115 เมื่อ: 14 กันยายน 2557, 17:30:42 » |
|
งามมาก ภาพวิถีชีวิตการทำมาหากิน ลายก็สวย พอเห็นบ้างในลายผ้าปักปัจจุบัน
วัดมอญก็ต้องที่จังหวัดปทุมธานี ชื่อวัดอะไรครับ
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #116 เมื่อ: 14 กันยายน 2557, 17:38:52 » |
|
ไปชมวัดเก่ามาแล้วครับ ในเขตกรุงเทพฯ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา มีมาก่อนกรุงศรีอยุธยา แต่ยังคงอยู่ สวยด้วยนะ
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #118 เมื่อ: 15 กันยายน 2557, 07:50:47 » |
|
หมายเหตุ รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชวิจารณ์ว่าคำว่า "สมอ" มาจากคำเขมร "ฌมอ" ซึ่งแปลว่าหิน จึงทรงแปลว่า วัดศิลารายต้องชมพระอุโบสถ ภาพจิตรกรรมภายใน และศาลาการเปรียญ เป็นพิเศษ
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #119 เมื่อ: 15 กันยายน 2557, 07:53:51 » |
|
น้องเริง
เคยอยู่ที่ตรอกสุเหร่า หน้าวัดเวฬุราชิน ช่วงเข้ามาติวเพื่อสอบเอ็นทร๊านซ์ มศ.4 และ มศ.5 เดินไปตลาดวงเวียนใหญ่ ตลาดพูล สถานีรถไฟ และอนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินเท่านั้นครับ ที่เห็นจากการนำเสนอของน้อง กว้างไกลเหลือเกิน เสียแต่ตอนนี้ไม่มีที่พักตรงนั้นซะแล้ว เพราะญาติย้ายออกไปอยู่ที่อื่น คงต้องหาเวลากลับไปเยี่ยมโดยใช้วิธีนั่ง BTS ไปเยี่ยมช่วงเช้า แล้วกลับช่วงบ่ายแทน
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #120 เมื่อ: 15 กันยายน 2557, 07:56:42 » |
|
ครับ แถวนั้นน่าไปชมมาก ผู้คนยังเป็นมิตร ได้ถามเส้นทางท่านยินดีให้คำตอบ
ผมคงไปแถวนั้นอีกสองรายการครับ ไปวัดนางชีวันออกพรรษา มีงานแห่พระบรมสารีริกธาตุ และวันพระเจ้าตากสินเดือนธันวาคม ไปที่วัดบางยี่เรือใต้หรือวัดอินทาราม
|
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #123 เมื่อ: 15 กันยายน 2557, 09:22:33 » |
|
ภายในพระอุโบสถ มีสามห้อง (มีภาพเฉพาะตอนห้องแรก) คือ ห้องหน้าเป็นระเบียง ห้องกลางเป็นห้องพิธี มีพระสัมพุทธพรรณีเป็นพระประธาน มีนพปฎลมหาเศวตฉัตร (ร. 5 หล่อพระราชทาน) หลังพระประธานเป็นซุ้มคูหา และมีภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในแสดงเรื่องพระเวสสันดรชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงเป็นผู้ร่างภาพ และ ศ. ซี. ริโกลี (C. Rigoli) จิตรกรชาวอิตาเลียน(ผู้เขียนภาพบนเพดานโดมในพระที่นั่งอนันตสมาคม) เป็นผู้เขียนด้วยการใช้สีปูนเปียก (Fresco)เบื้องบนพระประธานเป็นภาพพระพุทธเจ้าอยู่เหนือเมฆกำลังตอบปัญหาของพระสารีบุตรและพระอินทร์ ที่ใกล้พระประธานมีรูปศากยกษัตริย์พระประยูรญาติมาเฝ้าอยู่เบื้องหลัง
หลังพระประธานเป็นซุ้มคูหา เป็นการผสมผสานระหว่างศิลปะตะวันออกกับตะวันตกได้อย่างลงตัว ซึ่งซุ้มคูหานี้ได้ออกแบบเป็น "พระราชลัญกรประยุกต์" ในรัชกาลที่ 1-5 โดยที่ยอดบนสุดแทนรัชกาลที่ 1 เป็นรูปมหาอุณาโลม ซึ่งคำว่าอุมีลักษณะเป็นม้วนกลม คล้ายลักษณะความหมายของพระนามเดิมว่า "ด้วง"
ถัดลงมาเป็นรูปครุฑจับนาค แทนรัชกาลที่ 2 เนื่องจากพระนามเดิมคือ "ฉิม" ซึ่งตามความหมายของวรรณคดีไทยเป็นที่อยู่ของพญาครุฑ อีกด้านเป็นรูปมหาปราสาท แทนรัชกาลที่ 3 เพราะพระนามเดิมคือ "ทับ" ซึ่งหมายถึงที่อยู่หรือเรือน
ถัดลงมาอีกเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎ แทนรัชกาลที่ 4 ตามพระนามเดิมคือ "เจ้าฟ้ามงกุฎ" ส่วนอีกด้านเป็นรูปพระพิฆเนศ ถือพระจุลมงกุฎหรือพระเกี้ยว ซึ่งเป็นรูปที่มีความหมายคล้ายพระนามเดิมของรัชกาลที่ 5 นั่นเอง
|
|
|
|
|
|