23 พฤศจิกายน 2567, 10:34:36
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 114 115 [116] 117 118 ... 131   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: ตามครูไปเที่ยว  (อ่าน 924204 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 50 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2875 เมื่อ: 24 พฤษภาคม 2557, 19:28:44 »

๒๒ พค.  ภาพจากไทยรัฐออนไลน์

      บันทึกการเข้า
เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #2876 เมื่อ: 25 พฤษภาคม 2557, 09:56:11 »

ยืนเฝ้าเอาไว้ให้ดีๆ ก็แล้วกัน
พวกหนึ่งใส่เกียร์ว่าง พวกหนึ่งเตรียมการมาป่วน
และยังมีอีกหลายพวกที่ยังไม่แสดงอาการ++!!++
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2877 เมื่อ: 25 พฤษภาคม 2557, 13:54:24 »

มาตลาดนนทบุรี



ทุเรียนลูกละสามร้อยและสี่ร้อยบาท..ของนนทบุรีแท้หรือไม่ ตอบไม่ได้

      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2878 เมื่อ: 25 พฤษภาคม 2557, 14:00:05 »

มะม่วงพันธุ์ลูกใหญ่



มัดละยี่สิบบาท..มี่ทั้งไส้กล้วยและเผือก

      บันทึกการเข้า
เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #2879 เมื่อ: 26 พฤษภาคม 2557, 10:58:11 »

ข้าวต้มมัด-กินประจำ, แต่ทุกเรียนในปีนี้ ยังไมไ่ด้ลิ้มรสเลย อากาศร้อนจนไม่กล้าลอง
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2880 เมื่อ: 26 พฤษภาคม 2557, 15:26:03 »

ครับผม

ตระกร้าหรือกระจาด (เรียกถูกไหมครับ) ที่ใส่ทุเรียน มะม่วงและข้าวต้มมัด ในภาพเป็นของเก่าที่ใช้มานาน สวย ฝีมือดี  ที่ใส่ทุเรียนจะสวยที่สุด ไม่ใช้ลวด  ของใหม่คงไม่มีสานแล้ว เป็นพลาสติก หรือเหล็กกันหมด มีให้เห็นในภาพทุเรียนซ้ายมือและมะม่วงล่างสุด








      บันทึกการเข้า
หนุน'21
Global Moderator
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
*****


ซีมะโด่ง'จุฬาฯ ที่มาของผม
ออฟไลน์ ออฟไลน์

คณะ: "ครุศาสตร์"
กระทู้: 26,927

« ตอบ #2881 เมื่อ: 28 พฤษภาคม 2557, 09:10:12 »


มาตามชมครับพี่เริง
ขอบคุณครับ
      บันทึกการเข้า

“สิ่งที่ล้ำค่าที่สุดในใต้หล้า ทั้งมิใช่ชื่อเสียง และไม่ใช่ทรัพย์ศฤงคาร หากแต่เป็นน้ำใจระหว่างคน ท่านหากได้มา พึงทะนุถนอมไว้
อย่าได้สร้างความผิดหวังต่อตนเองและผู้อื่น.” “วีรบุรุษสำราญ” “โกวเล้ง”
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2882 เมื่อ: 28 พฤษภาคม 2557, 20:00:28 »

ฮ่า ฮ่า ฮ่า

      บันทึกการเข้า
เหยง 16
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: เภสัชศาสตร์ 2516
กระทู้: 23,533

« ตอบ #2883 เมื่อ: 28 พฤษภาคม 2557, 22:04:47 »

ขอบคุณที่ช่วยย้าย ผบก.จว.นนทบุรี เช่นกันครับ
      บันทึกการเข้า
Dtoy16
Hero Cmadong Member
***


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu2516
คณะ: อักษรศาสตร์
กระทู้: 1,424

« ตอบ #2884 เมื่อ: 29 พฤษภาคม 2557, 19:40:19 »

           น้องเริง พี่ดูแม่ค้าทุเรียน สองรอบค่ะ ขอชมว่าเธอเนียบทั้งผม หน้า คิ้วรับกันหมดจด
           ตอนกดรูปเห็นแค่หน้า ยังไม่เห็นทุเรียน คิดว่าน้องเริงพาผ.อที่ทำงานไปตลาดด้วย
      บันทึกการเข้า

เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2885 เมื่อ: 30 พฤษภาคม 2557, 09:50:42 »

ครับผม

ท่านเป็นแม่ค้ามืออาชีพ ต้องดูดี ลูกค้าจะได้มาซื้อกันเยอะๆ
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2886 เมื่อ: 30 พฤษภาคม 2557, 19:41:41 »

ทุเรียนนนท์



นางจันทร์ธิดา  มีเดช  ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 7 ชัยนาท (สศข.7) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า ทุเรียนนนท์ ถือเป็นทุเรียนที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นทุเรียนที่มีรสชาติดีที่สุด ปลูกมากในอำเภอเมือง และอำเภอปากเกร็ด เป็นทุเรียนที่มีชื่อเสียงมานานด้วยความอุดมสมบูรณ์ของดินในจังหวัดนนทบุรี ที่เป็นดินตะกอนสะสมจากแม่น้ำ มีฮิวมัส มีปุ๋ยจากแม่น้ำเจ้าพระยามาทับถมกัน ทำให้ผลไม้หลาย ๆ ชนิด ที่ปลูกในแถบนี้มีรสชาติดี โดยเฉพาะทุเรียน จนกลายเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของทางจังหวัด และจากการสำรวจพบว่า ราคาขายของทุเรียนปีนี้จะอยู่ที่ ลูกละ 7,000– 10,000 บาท ซึ่งสูงกว่าปีที่ผ่านมากว่าเท่าตัว โดยปีที่แล้วราคาขายทุเรียนนนท์อยู่ที่ลูกละ 3,000–4,000 บาท หรือ 3 ลูก 10,000 บาท

สำหรับจังหวัดนนทบุรีแต่เดิม มีสวนทุเรียน 1,628 ไร่ แต่หลังจากเหตุการณ์อุทกภัย ปี 2554 พื้นที่สวนทุเรียนจังหวัดนนทบุรีถูกทำลายเสียหายไปมาก ทำให้ผลผลิตทุเรียนของจังหวัดนนทบุรีที่ออกสู่ตลาด มีปริมาณน้อย และจากการลงพื้นที่สอบถาม กลุ่มเจ้าของสวนทุเรียนนนท์ ตำบลบางรักน้อย ในอำเภอเมือง ทำให้ทราบว่า ถึงแม้ราคาทุเรียนนนท์จะพุ่งขึ้นสูงจนถึงลูกละ 10,000 บาท แต่ก็สามารถขายผลผลิตได้หมด อีกทั้งมีการจองไว้ล่วงหน้าตั้งแต่อยู่บนต้น อย่างไรก็ตาม พบว่า เกษตรกรอีกหลายรายยังไม่กล้าที่จะปลูกทุเรียนทดแทนพื้นที่สวนทุเรียนที่เสียหาย เนื่องจากยังไม่วางใจสถานการณ์น้ำในปีนี้

ทั้งนี้ นางจันทร์ธิดา กล่าวเพิ่มเติมว่า แม้ผลไม้เกรดคุณภาพจะมีราคาสูงมาก แต่หากเกิดปัญหาจากธรรมชาติ ทั้งภัยแล้ง น้ำท่วม และสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง อาจจะส่งผลกระทบถึงต้นทุนการผลิตเนื่องจากใช้เวลาปลูกหลายปีจึงจะให้ผล ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้เห็นความสำคัญของทุเรียนนนท์ และได้จัดโครงการกู้วิกฤติสวนไม้ผลพันธุ์ดีเฉพาะท้องถิ่นที่ประสบอุทกภัย นำพันธุ์ทุเรียนจากจังหวัดนนทบุรีที่เก็บรักษาและขยายพันธุ์ภายในศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี มาส่งมอบกลับคืนสู่เกษตรกรเจ้าของพันธุ์ เพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธุ์ทุเรียนนนท์ไม่ให้หายไป

ข้อมูลปี ๒๕๕๖.
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2887 เมื่อ: 30 พฤษภาคม 2557, 19:58:32 »

  พาทุเรียนนนท์กลับบ้าน

                                     

          ปลายปี 2554   ข่าวใหญ่ที่ได้รับความสนใจ  มีการติดตามข่าวสารมากที่สุดข่าวหนึ่ง   คือข่าวมหาอุทกภัย  ที่ได้ครอบคลุมทั่วกรุงเทพและ
ปริมณฑล ประชาชนต่างได้รับความเสียหายมากมาย ทั้งเรื่องของที่อยู่อาศัย ทรัพย์สินเงินทอง และการทำมาหากิน  โดยเฉพาะอาชีพที่ต้องพึ่งพา
สภาพดิน ฟ้า อากาศ สภาพพื้นที่เป็นหลัก    อย่างการเกษตรกรรมได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก  ซึ่งจังหวัดนนทบุรี เป็นหนึ่งจังหวัดที่ได้รับ
ความเสียหายอย่างหนักในครั้งนี้ ส่งผลต่อผลไม้ที่ขนานนามกันว่าเป็น ราชาแห่งผลไม้ไทย  นั่นก็คือ ทุเรียน



          จังหวัดนนทบุรี  ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งปลูกทุเรียนเชิงพาณิชย์แห่งหนึ่งของประเทศไทย  ด้วยสภาพอากาศ  สภาพดินที่เหมาะสมต่อการเพาะ
ปลูก จึงมีการส่งเสริม  พัฒนาให้ทุเรียนนนทบุรีมีคุณภาพดี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย  ชาวสวนทุเรียนนนทบุรีต่างตระหนักถึงความสำคัญ
ของพันธุ์ทุเรียนที่หลากหลาย โดยเฉพาะพันธุ์ทุเรียนโบราณ    จึงได้มีการอนุรักษ์พันธุ์ไว้เพื่อสืบทอดต่อรุ่นสู่รุ่นทำให้ปัจจุบันทุเรียนนนทบุรีมีความ
หลากหลายสายพันธุ์ และมีคุณภาพเฉพาะที่แตกต่างกันไป  นอกจากทุเรียนพันธุ์ก้านยาว       ที่เป็นที่รู้จักกันดีอยู่แล้วจังหวัดนนทบุรียังเป็นจังหวัด
ต้นกำเนิดของทุเรียนอีกหลายสายพันธุ์ ซึ่งความหลากหลายดังกล่าวเกิดจากการพัฒนาพันธุ์ จากการปลูกด้วยเมล็ดและคัดเลือกพันธุ์โดยเกษตรกร
ทำให้ได้ทุเรียนสายพันธุ์ดี และหลากหลาย

          ด้วยความวิตกกังวลว่าทุเรียนเมืองนนทบุรีจะสูญพันธุ์  กรมวิชาการเกษตร  โดยสถาบันวิจัยพืชสวน ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี สำนักวิจัยและ
พัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปทุมธานี     จึงได้ดำเนินงานตามโครงการกู้วิกฤตสวนไม้ผลพันธุ์ดีเฉพาะท้องถิ่นของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาให้กับชาวสวนทุเรียนจังหวัดนนทบุรี โดยมีกิจกรรมสำคัญ ได้แก่ การขยายพันธุ์ทุเรียนเมืองนนทบุรี
ซึ่งศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรีได้เก็บรวบรวมพันธุ์ทุเรียนจากจังหวัดนนทบุรี  ทั้งพันธุ์การค้า และพันธุ์โบราณหายากมาปลูกรวบรวมไว้ภายใต้โครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  ตั้งแต่ปี 2538      เพื่อนำต้นพันธุ์กลับคืนสู่จังหวัดนนทบุรีอีกครั้ง  รวมถึงกิจกรรมจัดทำแปลง
ต้นแบบการปลูกทุเรียนคุณภาพ      เพื่อเป็นแปลงตัวอย่างในการจัดการเทคโนโลยีที่ดีและเหมาะสม      ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาของ
กรมวิชาการเกษตร เพื่อให้ได้ทุเรียนที่มีคุณภาพ  โดยศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี   เป็นผู้สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ  ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
ปทุมธานี      สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5  เป็นผู้ร่วมดำเนินงานในพื้นที่ด้วย  
 
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2888 เมื่อ: 30 พฤษภาคม 2557, 20:02:54 »

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ



          สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ    ได้มีพระราชดำริ    ให้ทุเรียนเป็นหนึ่งในไม้ผลอนุรักษ์                  ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  โดยมีศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี  สถาบันวิจัยพืชสวน     กรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบสนองพระราชดำริในการจัดทำ
แปลงอนุรักษ์พันธุกรรมทุเรียน  และรวบรวมพันธุ์ทุเรียนจากแหล่งปลูกทุเรียนที่สำคัญทั่วประเทศไทย    รวมทั้งพื้นที่จังหวัดนนทบุรีมาปลูกรวบรวม
ในพื้นที่ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรีอย่างต่อเนื่อง  โดยในช่วงแรกดำเนินการรวบรวมพันธุ์ทุเรียน  ตั้งแต่ พ.ศ.2510-2548  ได้จำนวน 318 พันธุ์ พร้อม
ทั้งปลูกอนุรักษ์ไว้ในพื้นที่ของศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี  ซึ่งรับผิดชอบ 3 พื้นที่     คือ พื้นที่ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี        พื้นที่ทดลองแปลงทดลอง
ห้วยสะพานหิน และพื้นที่ทดลองแปลงทุ่งเพล

          ต่อมาระหว่าง พ.ศ.2549 - 2553    ได้มีการรวบรวมพันธุ์ทุเรียนเพิ่มเติมอีก 316 พันธุ์   และนำไปปลูกรวบรวมที่พื้นที่ทดลองแปลงทดลอง
ห้วยสะพานหิน  จากการตรวจสอบพันธุ์ที่ได้รวบรวมพันธุ์ทุเรียนทั้ง 2 ช่วงเวลา ในเบื้องต้นประเมินได้ว่า พันธุ์ทุเรียนที่มีการปลูกและเก็บรักษาพันธุ์
ไว้ที่ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี  มีประมาณ 500 สายพันธุ์

          ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึง เก็บกู้ยอดพันธุ์ทุเรียนพันธุ์ดั้งเดิมใน ตำบลบางศรีทอง   ตำบลวัดชะลอ   อำเภอบางกรวย   ตำบลบางเลน   อำเภอบางใหญ่        และตำบลไทรม้า ตำบลบางรักน้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดนนทบุรี     ซึ่งสามารถเก็บกู้ได้ 17 พันธุ์      ได้แก่ พันธุ์กบก้านเหลือง  พันธุ์สาวน้อย  พันธุ์กบตาเฒ่า พันธุ์ทองย้อยฉัตร พันธุ์กระดุมเขียว  พันธุ์แดงรัศมี พันธุ์แดงรัศมี(สว่างจิตร) พันธุ์กบหัวสิงห์ พันธุ์ลวงหางสิงห์ พันธุ์กระเทยเนื้อเหลือง พันธุ์กบพวง พันธุ์กบสีนวล พันธุ์กบจำปา พันธุ์กบตาเหมย พันธุ์กำปั่นเจ้ากรม พันธุ์เจ้าเงาะ  และพันธุ์กระดุมสีนาค
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2889 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 18:51:45 »

ไปคลองบางหลวง เคยไปมาแล้ว เมื่อสองปีที่ผ่านมา ..วันนี้ไปอีก อ่า ฮ่า

คลองบางกอกใหญ่  
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
  
การขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันคลองบางกอกใหญ่ หรือ คลองบางหลวง เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน กล่าวคือบริเวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้น ยังเป็นแผ่นดินอยู่ แม่น้ำเจ้าพระยาเดิมจะอ้อมเลี้ยวจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างมาทะลุออกข้างวัดท้ายตลาด


      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2890 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:01:29 »

ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089)โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุ้งแม่น้ำทั้งสอง

เพื่อย่นระยะทางและอำนวยความสะดวกให้กับบรรดาพ่อค้าทูตานุทูตชาวตะวันตกที่เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างใหญ่ขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน ราชสำนักย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาคนจีนซึ่งได้เคยช่วยเหลือพระองค์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านจึงเรียกกันติดปากว่า คลองบางข้าหลวง หรือ คลองบางหลวง สืบมา
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2891 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:06:13 »

มาถนนจรัญสนิทวงศ์ ซอย ๓ ตรงข้ามวัดท่าพระ




      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2892 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:19:35 »

ข้ามคลอง  จากเขตบางกอกใหญ่













      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2893 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:33:06 »

มาอีกฝั่ง เป็นเขตภาษีเจริญ บ้านเป็นร้านค้าและเป็นทางเดิน







      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2894 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:50:26 »







      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2895 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 19:56:57 »

นั่งชมฝั่งตรงข้าม







      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2896 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 20:04:10 »

ท่านนี้อายุ ๘๙ ปี มาอยู่ที่นี่เมื่อมีลูกชายคนแรก ตอนนี้เขาอายุ ๖๕ ปีแล้ว

      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2897 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 20:06:50 »

มาเติมพลังที่ร้านนี้ ..นั่งริมคลอง








      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2898 เมื่อ: 31 พฤษภาคม 2557, 20:12:33 »

ยังไม่กลับนะ..ไปชมวัดเก่าก่อน
      บันทึกการเข้า
เริง2520
Cmadong ชั้นเซียน
*****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6,341

« ตอบ #2899 เมื่อ: 01 มิถุนายน 2557, 05:34:52 »

วัดกำแพงบางจาก



ความเป็นมาของวัดไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยใด สันนิษฐานว่าคงมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตามคำบอกเล่าสืบทอดกันมา และคงได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่หลายครั้ง แม้แต่ชื่อวัดก็ไม่ทราบชื่อเดิม ชื่อที่ใช้ในปัจจุบันก็เป็นชื่อเรียกกันในหมู่ชาวบ้านและเรียกกันมาเรื่อยๆ
      บันทึกการเข้า
  หน้า: 1 ... 114 115 [116] 117 118 ... 131   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

ทำไมหอพักนิสิตจุฬาจึงเป็นดินแดนมหัศจรรย์            " ไม่ได้เป็นแค่หอให้นอนพัก  แต่เป็นบ้านอบอุ่นรักให้อาศัย  ไม่เป็นแค่ที่ซุกหัวยามหลบภัย  แต่สร้างใจให้เข้มแข็งแกร่งการงาน"  <))))><