เริง2520
|
|
« ตอบ #2650 เมื่อ: 29 มกราคม 2557, 19:26:20 » |
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2651 เมื่อ: 29 มกราคม 2557, 19:43:41 » |
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2652 เมื่อ: 29 มกราคม 2557, 19:50:48 » |
|
|
|
|
|
|
|
เอมอร 2515
Cmadong พันธุ์แท้
ออฟไลน์
รุ่น: rcu 2515
คณะ: รัฐศาสตร์(นิติศาสตร์)
กระทู้: 4,562
|
|
« ตอบ #2655 เมื่อ: 30 มกราคม 2557, 19:45:23 » |
|
แปลงดอกไม้สีสดใสค่ะ
|
|
|
|
ติ๋ม จันทร์ฉาย
Hero Cmadong Member
เป็นญาติพี่น้องกับซีมะโด่ง
ออฟไลน์
รุ่น: 2516
กระทู้: 1,692
|
|
« ตอบ #2656 เมื่อ: 31 มกราคม 2557, 00:48:08 » |
|
|
ติ๋ม จันทร์ฉาย
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2658 เมื่อ: 31 มกราคม 2557, 14:55:51 » |
|
เมื่อแรกตัดถนนเยาวราชใหม่ ๆ นั้น มีชาวจีนอยู่อาศัยกันหนาแน่น แม้ต่อมาถนนเยาวราชก็ยังคงมีความสำคัญ เพราะเป็นย่านร้านอาหารชั้นนำ ตึกที่สร้างสูงที่สุดตึกแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ก็สร้างที่ถนนเยาวราชเป็นแห่งแรก ช่วงปี พ.ศ. 2500 ถนนเยาวราชรถยังวิ่งสวนทางกัน มีรถเมล์สาย 23 หรือที่เรียกกันว่า "เมล์แดง" และรถเมล์สาย 24 ที่เรียกกันว่า "ไทยประดิษฐ์" วิ่งสวนทางกัน และมีรถรางวิ่งอยู่อีกช่องทางหนึ่ง ถนนเยาวราชจะเป็นที่จัดงานประจำปีอยู่เนือง ๆ โดยจะปิดการจราจรชั่วคราว เป็น "ถนนคนเดิน" มีการขายอาหารจีนที่มีชื่อ การแสดง และออกร้านมากมายจากร้านค้าที่อยู่สองข้างทาง จนถึงทุกวันนี้
|
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2661 เมื่อ: 01 กุมภาพันธ์ 2557, 22:10:55 » |
|
และร่วมงานศพแม่ของยุทธนา น้ำเงิน เป็นซีมะโด่ง ๒๕๒๐
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #2662 เมื่อ: 02 กุมภาพันธ์ 2557, 21:52:50 » |
|
ตรงนี้
คนราด-รี บอกว่า มีหัวรถจักร์ ตกจมน้ำไปหลายสิบปี ยังไม่มีการกู้ขึ้รมาเลย ??
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2663 เมื่อ: 03 กุมภาพันธ์ 2557, 20:14:12 » |
|
คำตอบครับหนังสือกรมการทหารช่างที่ 11 (2535) ได้ประสานขอข้อมูลของหัวรถจักรที่จมน้ำ จาก สำนักงาน จ.ราชบุรี (ฝ่ายอำนวยการ) นายประกิต ศรีสุทธิ์ นายสถานีรถไฟราชบุรี กองประชาสัมพันธ์การรถไฟแห่งประเทศไทย นายวรรณศักดิ์ ทรายแก้ว วิศวกรกำกับการเขตบำรุงทางหัวหิน นายสรรพสิริ วิริยะสิริ ประธานชมรมเรารักรถไฟ สรุปข้อมูลที่ได้ดังนี้
1. น้ำหนักหัวรถจักรไอน้ำ โดยประมาณ 70-80 ตัน ไม่ทราบขนาดและมิติที่แน่นอน 2. ชั้นรับน้ำหนักของสะพานจุฬาลงกรณ์ ประมาณ 150 ตัน 3. สาเหตุที่ไม่กู้ขึ้นมาเพราะไม่มีงบประมาณ
เอกสารประกอบรายงานการประชุม เรื่อง หัวรถจักรไอน้ำ (2540) กล่าวว่า
1. หัวรถจักรมีลักษณะขนานกับสะพานทั้งสอง แต่สวนหัวจะหันมาทางด้านสะพานธนะรัชต์เล็กน้อย 2. ระยะของหัวจักรห่างจากตะม่อ สะพานธนะรัตช์ ประมาณ 70 ซม. 3. ด้านท้ายของหัวรถจักรจะอยู่จะอยู่ระหว่างกลางช่องสะพาน ลักษณะการวางอยู่ใต้พื้นน้ำ จากการสอบถามผู้ที่เคยไปงมกุ้งและหาปลาบริเวณนั้น จะอยู่ในลักษณะหัวเชิดขึ้นเล็กน้อย ท้ายจะทรุดต่ำลง 4. มีทรายอยู่เฉพาะด้านในของท้ายรถจักรสูง ประมาณ 60 ซม. ส่วนด้านหัวทรายได้ถูกน้ำพัดพาไปจะเหลือน้อย 5. ในปัจจุบันน้ำจะมีระดับสูงจากแนวปล้องของหัวรถจักร ประมาณ 3-5 เมตร ถ้าน้ำลดลงมากกว่านี้ จะเห็นปล้องโผล่ขึ้นเหนือน้ำ
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2664 เมื่อ: 03 กุมภาพันธ์ 2557, 20:21:45 » |
|
ทำแล้ว...แต่ยังไม่สำเร็จ
เป็นที่กล่าวขวัญและเล่าสืบต่อกันมานานเกี่ยวกับหัวรถจักรที่จมอยู่ใต้สะพานจุฬาลงกรณ์ ซึ่งเป็นสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำแม่กลอง ในเขตตัวเมืองราชบุรี ซึ่ง พลโทชัยยุทธ เทพยสุวรรณ เจ้ากรมการทหารช่าง (ในขณะนั้น) ได้พยายามที่จะรื้อฟื้นเรื่องราวของหัวรถจักรคันนี้ให้ฟื้นคืนกลับขึ้นมาเป็นหน้าประวัติศาสตร์ของ จว.ราชบุรี เพื่อให้คนรุ่นปัจจุบันได้รับทราบ และตระหนักถึงความสำคัญของ จว.ราชบุรี ในการมีส่วนร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 2
พิสูจน์ทราบการ จม....
วันที่ 12 เม.ย. 2548 เวลาประมาณ 08.00 น. ผมและทีมงานปฏิบัติงานใต้น้ำของกรมการทหารช่าง รวม 4 คน พร้อมด้วยนักดำน้ำเก็บกู้สิ่งของจากบ้านท่าเสาอีก 4 คนได้รับมอบหมายจากเจ้ากรมการทหารช่างให้ลงไปดำน้ำเพื่อพิสูจน์ทราบรูปแบบขอหัวรถจักร ลักษณะ และสภาพการจม พร้อมกับถ่ายภาพหัวรถจักรคันนี้ ขึ้นมาเพื่อทำการประชาสัมพันธ ์ และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ขั้นต้นเพื่อวางแผนต่อไป
ข้อมูลเบื้องต้น : ยังไม่ใครพิสูจน์ทราบได้ว่า หัวรถจักรที่จมอยู่นี้เป็นรุ่นใด จากข้อมูลเดิมจะมีอยู่ 2 รุ่น คือ รถจักรขนาดเล็ก รุ่น P- CLASS ( KITSON/NORTH BRITISH,1917,1919) สร้างในประเทศอังกฤษ หรือ รถจักร ขนาดเล็ก รุ่น C-56 ( JAPAN ) สร้างในประเทญี่ปุ่น
วิธีที่พวกเราดำเนินการ พวกเราต้องศึกษาจากแบบแปลนของรถจักรทั้งสองรุ่น ซึ่งจะมีลักษณะล้อขับ ล้อนำ และปล่องไฟแตกต่างกัน หลังจากนั้นจึงดำน้ำลงไปพิสูจน์ทราบลักษณะที่คล้ายคลึง ซึ่งหากยืนยันได้ว่ารุ่นใดจมอยู่แล้ว พวกเราก็จะได้ข้อมูลของขนาดรูปร่าง และน้ำหนักที่แท้จริงของตัวรถจักรตามมาด้วย
การพิสูจน์ทราบยังล้มเหลว การดำน้ำในวันนี้เราแทบไม่ได้อะไรเลย น้ำไม่ลึกเท่าใดนัก ประมาณ 8- 10 ม. กระแสน้ำเอื่อยๆ พื้นท้องน้ำเป็นทราย ทัศนวิสัยของน้ำค่อนข้างต่ำมองเห็นได้ไม่เกิน 10 ซม. แม้พวกเราจะนำไฟฉายใต้น้ำลงไปก็ไม่สามารถช่วยอะไรได้มากนัก พวกเราเหมือนคนตาบอดแต่ก็พยายามถ่ายรูปด้วยกล้องใต้น้ำขึ้นมาให้มากที่สุด แล้วจึงค่อยนำมาวิเคราะห์ นอกจากนั้นเรายังไปดำน้ำ พิสูจน์ทราบลูกระเบิดที่ยังคงจมอยู่อีก 2 ลูก ก็เพียงแต่ได้ รูป คลำ แล้วนำลักษณะขึ้นวิเคราะห์เช่นกัน
เช้าวันที่ 13 เม.ย.48 พวกเราลงดำน้ำกันอีกครั้งประมาณ 07.00 น. ซึ่งคำนวณแล้วว่าน้ำจะค่อนข้างนิ่งที่สุด จะได้ไม่มีกระแสน้ำ และฝุ่นตะกอนที่จะรบกวนการมองเห็น และการถ่ายภาพของพวกเรา แต่ผลยังคงเหมือนเดิม...แต่ในครั้งนี้ เราสามารถจำลองลักษณะการจมต่างๆ ว่าจมอยู่ในลักษณะใด ที่ความลึกเท่าใด หัวรถจักรวางตัวอย่างไร....แต่ยังไม่กล้าฟันธงลงไปว่าเป็นหัวรถจักรรุ่นใด
พวกเรายังคงมีความตั้งใจที่จะลงไปดำน้ำพิสูจน์ทราบให้ได้แน่ชัดว่าเป็นหัวรถจักรรุ่นใด แน่..เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการวางแผนการกู้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์...ต่อไป
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2666 เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2557, 19:26:20 » |
|
ครับผม...หนุน
|
|
|
|
ติ๋ม จันทร์ฉาย
Hero Cmadong Member
เป็นญาติพี่น้องกับซีมะโด่ง
ออฟไลน์
รุ่น: 2516
กระทู้: 1,692
|
|
« ตอบ #2667 เมื่อ: 04 กุมภาพันธ์ 2557, 22:00:28 » |
|
ไปเที่ยวกับน้องเริงค่ะ
|
ติ๋ม จันทร์ฉาย
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2668 เมื่อ: 05 กุมภาพันธ์ 2557, 18:17:02 » |
|
ครับผม..ไปเรื่อยๆ เหนื่อยก็พัก สนุกนัก ก็นำมาเล่า
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #2669 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2557, 13:42:24 » |
|
น้องเริง
คนตามมาอ่าน มาดูภาพ ไม่เบื่อหรอกน่ะ
|
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2671 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2557, 13:50:59 » |
|
พี่เหยง
จะสำเนาฉบับดิจิตอลได้ที่ไหน หรือมีขายที่ใดครับ
คงอ่านเพลินแน่ๆ และหลายๆครั้ง
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2672 เมื่อ: 06 กุมภาพันธ์ 2557, 13:56:53 » |
|
ศัพท์ใหม่ เบื่อและเหนื่อย เป็น เบื่อย ๕๕๕๕๕
|
|
|
|
เหยง 16
|
|
« ตอบ #2673 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2557, 11:19:57 » |
|
จะลองดูให้ครับ แต่ PC ของพี่ ไรท์แผ่นไม่ได้
|
|
|
|
เริง2520
|
|
« ตอบ #2674 เมื่อ: 08 กุมภาพันธ์ 2557, 17:48:35 » |
|
ครับผม. เจอที่ไหนช่วยบอกด้วย......ขอบคุณครับ
หากมีขายที่ร้านเซเว่น จะขายดีมากๆเลย
|
|
|
|
|