26 พฤศจิกายน 2567, 13:52:48
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน [สมาชิกเก่าลืมรหัส โทร 081-7611760]
A A A A  ระเบียบปฎิบัติ
   
Languages    
  หน้า: 1 ... 344 345 [346] 347 348 ... 681   ลงล่าง
ผู้เขียน หัวข้อ: คุย กับ คุณมานพ กลับดี อดีตประธานชมรม ๓ สมัย  (อ่าน 3581316 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 38 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8625 เมื่อ: 29 มีนาคม 2556, 23:06:16 »



อ้างถึง
ข้อความของ Manop  Klabdee เมื่อ 29 มีนาคม 2556, 08:02:34
สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                       มันมีโรงงานเก่า ๆ เครื่องจักรเก่า ๆ ขายทิ้งบ้างไหม ได้แก่โรงงานทำแผ่นัง แผ่นพื้น และไม้หมอนคอนกรีตรถไฟ  ในเยอรมันนี ครับ

                       สวัสดี


พี่สิงห์คะ,
เรื่องบริษทล้มละลาย...Insolvenz
เค้ามีprocessที่แน่นอนคะว่า..
ก่อนที่ Insolvenzverfahrenจะเริ่มเข้ามา
จัดการแยกชิ้นขายทอดตลาดน่ะ..มักหา
ผู้ซื้อกิจการได้ก่อน ดำเนินต่อ เพราะทุกอย่าง
พร้อมอยู่แล้ว ยากนักจะขายเป็นส่วนๆคะ


แต่มีรึปล่าว มีที่ไหน...
หนิงก็ไม่รู้คะพี่ท่าน.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8626 เมื่อ: 29 มีนาคม 2556, 23:21:51 »


พี่สิงห์ชมไปเรื่อยๆคะ
ไม่พี่ก็หนิง...
ใครจะอ้วกก่อนกัน!



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/PZ1tCdVyfCc?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/PZ1tCdVyfCc?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/PZ1tCdVyfCc
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8627 เมื่อ: 29 มีนาคม 2556, 23:41:09 »



เจอะฟิล์มนี้ของเดนมาร์คค่ะพี่สิงห์ขา
เขาไม่ผลิตคะพี่ท่าน..เขาrecycleค่า
crushingมาใช้



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/LsQqgzfcsxg?hl=de_DE&amp;amp;version=3&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/LsQqgzfcsxg?hl=de_DE&amp;amp;version=3&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/LsQqgzfcsxg
      บันทึกการเข้า


Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8628 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 05:39:45 »

สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                     พี่สิงห์อยู่สนามบินดอนเมือง ตั้งแต่ 05:00 น. เพื่อ Boarding 06:00 น.

                     ขอบคุณมาก ๆ ด้วยใจจริง ที่นำความรู้มาให้ พี่่สิงห์ กำลังศึกษาที่จะเลือกเอามาใช้ออกแบบผลิตในเมืองไทย  พี่สิงห์ อยาก Copy แต่ยังทำไม่เป็น  ช่วยบอกให้ด้วยครับ และอยากได้หลาย ๆ ภาพ เกี่ยวกับการผลิตพื้นสำเร็จ-ไม้หมอนรถไฟ

                     สวัสดี
      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8629 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 06:02:37 »


พี่สิงห์ที่เคารพ,
พี่อยากcopy ..clip หรือ film อันไหนคะ?
เรื่องไม้หมอนอัดคอนกรีตหนิงเพิ่งเจอะ
เพียง 1 film ของฝรั่งเศสเค้าdeaktiviert code
แฮพมาแปะไม่ได้ง่ายๆ พี่clickเข้าไปชมในutubeเลยก็ได้.

ที่เป็นภาพๆหนิงยังไม่ค้นเลยคะพี่ท่าน!
นี่หาเฉพาะclip+filmอย่างเดียว
ได้ทั้งภาพทั้งเสียง เร้าใจ กระตุ้นมากกว่าคะ.

หนิงยังค้นแหล่งผลิตไม้หมอนคอนกรีตอัดแรง
ของเยอรมันไม่เจอพี่สิงห์...ยังไม่ละความพยายามคะ

พี่เดินทางโดยปลอดภัยก่อน
เดี๋ยวหนิงมาต่อคะ.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8630 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 06:11:50 »

ฟิล์มนี้คะ,ของฝรั่งเศส
หรือภาษาฝรั่งเศส..
เค้าไม่ยอมให้แปะง่ายๆคะ
หนิงปล้ำอยู่นานพอสมควร
หนังดี ละเอียด..



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/iUMb457qtmk?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/iUMb457qtmk?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/XDizqCgS4-0
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8631 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 07:00:30 »


พี่สิงห์คะ,
การรถไฟออสเตรีย..ถอดไม้หมอนเก่า
แทนที่ด้วยไม้หมอนใหม่คอนกรีต..
ผลิต/สั่งมาจากไหน...ข่าวไม่ได้บอกคะ!


<a href="http://www.youtube.com/v/jrZArwftzvc?hl=de_DE&amp;amp;version=3" target="_blank">http://www.youtube.com/v/jrZArwftzvc?hl=de_DE&amp;amp;version=3</a>

http://youtu.be/jrZArwftzvc
      บันทึกการเข้า


Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8632 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 11:20:25 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 06:11:50

ฟิล์มนี้คะ,ของฝรั่งเศส
หรือภาษาฝรั่งเศส..
เค้าไม่ยอมให้แปะง่ายๆคะ
หนิงปล้ำอยู่นานพอสมควร
หนังดี ละเอียด..



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/iUMb457qtmk?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/iUMb457qtmk?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/XDizqCgS4-0

สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                 คำว่าภาพของพี่สิงห์ คือ วีดิโอ  พอดีมันเขียนภาษาอังกฤษกลัวผิด จึงใช้คำว่าภาพ เป็นแบบวีดิโออย่างนี้ดีแล้วครับ  จะได้ชมทั้งขบวนการทั้งหมด

                 ในภาพเป็นการผลิตไม้หมอนคอนกรีตรถไฟ (concrete sleeper) แบบที่เรียกว่า Shot Line method คือแบบที่ใช้ผลิตเลื่อนได้ แต่จุดเทคอนกรีตอยู่กับที่ ใช้คนน้อย ต้องทำเป็นโรงงานตามในวิดีโอแบบนั้น ใช้เงินลงทุนสูงเพราะต้องซื้อทุกอย่างมาจากเมืองนอกที่เขาทำขายและต้องเอาเขามาติดตั้งให้ด้วย ในเยอรมันนีมีมาก ต้องใช้เงินลงทุนไม่ต่ำกว่า ๕๐๐-๑๐๐๐ ล้านบาท ถ้าต้องการผลิตวันละ ๕๐๐ ท่อน และมีข้อเสียคือ แรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรงไม่ถูกต้องเนื่องจากมันยึดนิดเดียว บางครั้งต้องเสริมเหล็กเผื่อ เพราะมันยาวเพียง ๑.๒๐ เมตรเท่านั้น  จึงต้องระวัง

                    การผลิตแบบ Long Line Method นั้นดี ตรงที่แรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรงได้แน่ ๆ เพราะแท่นผลิตยาวมากกว่า ๑๐๐ เมตร  ขอความกรุณาเธอวีดีโอของเดนมาก หรือเนเทอรแลนด์ แบบ Long Line เขามีแน่ๆ พี่สิงห์ ต้องการดูรูปบางรูปในการยก  พลิก และแบบ รวมทั้งการลำเรียง ครับ

                     ขอบคุณมาก ๆ ประเทศไทยจะเป็นหนี้ความดีของเธอที่นำความรู้เรื่อง concrete sleeper มาให้  พี่สิงห์  อยากให้โครงการนี้เกิดจริง ๆ  วิศวกรไทย จะได้มีงานทำ  พี่สิงห์ ก็พร้อมที่จะทำ  พร้อมที่จะให้ความรู้  เพื่อให้ต้นทุนในการผลิตต่ำ  ทุกโรงงานสามารถผลิตได้  ไม่ใช่จำกัดเพียงสองรายในปัจจุบัน  มันจึงเกิดไม่ได้สักที เพราะราคามันแพงมาก  มีการติดสินบนกันมาก  รถไฟจึงทำไม่ได้  และต้องแก้ไขข้อกำหนด ตัดคำว่า "ผลิตแบบอัตโนมัติ " ทิ้งเพียงเท่านี้รถไฟไทยเกิดแน่นอนครับ

                     พี่สิงห์อยู่นครศรีธรรมราช

                     สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8633 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 11:33:29 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 07:00:30

พี่สิงห์คะ,
การรถไฟออสเตรีย..ถอดไม้หมอนเก่า
แทนที่ด้วยไม้หมอนใหม่คอนกรีต..
ผลิต/สั่งมาจากไหน...ข่าวไม่ได้บอกคะ!


<a href="http://www.youtube.com/v/jrZArwftzvc?hl=de_DE&amp;amp;version=3" target="_blank">http://www.youtube.com/v/jrZArwftzvc?hl=de_DE&amp;amp;version=3</a>

http://youtu.be/jrZArwftzvc

สวัสดีครับ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                    รถคันที่เห็นในภาพนั้นเป็นรถวางไม้หมอนคอนกรีตรถไฟ และระบบรางรถไฟ  ในเมื่องไทยก็มี เพราะต้องวางด้วยรถอย่างในภาพ  คนทำไม่ไหว ครับ

                    มันจะควบคุมคุณภาพคือระดับ ความกว้างของรางและความตรงได้แน่นอน

                    แต่ปัญหาของประเทศไทยมันอยู่ที่ตัวไม่หมอนคอนกรีตรถไฟ  ที่คนของรถไฟ จะเอาแบบอัตโนมัติท่าเดียว  โดยมีข้ออ้างสาระพัด  รถไฟไทยมันจึงไม่เกิด และเกิดไม่ได้ เช่นเมื่อก่อนต้นทุน ๕๐๐ บาท ขาย ๓๐๐๐ บาท โดยประมาณคิดกันเอาเอง

                     อย่ามาอ้างพี่นคร  พีสุรชัยเลย  พี่ซีมะโด่ง มันเสียเวลาเปล่า  พี่สิงห์ ประสบมาด้วยตนเอง  รู้เรื่องนี้ดี ขนาดคนเป็นรัฐมนตรี  ว่าการคมนาคม และบริษัทของตัวเองได้งานมา  ยังทำไม่ได้ เพราะคนเหล่านั้น(การรถไฟ) ครับ

                     ตอนนี้โชคดี คนเหล่านั้นทั้งหมด ปลดเกษียรไปหมดแล้ว  แต่ยังหลงเหลือเงาอยู่ คือข้อกำหนดของการรถไฟ ก็ขึ้นอยู่กับท่านผู้ว่าคนใหม่คุณประภัทร์   จงสงวนและพรรคเพื่อไทย  จะเอาอย่างไร  จะรับฟังคนอย่างพี่สิงห์ไหม  ที่มันมรวิธีผลิตแบบถูกๆ จีนเขาก็ทำ  อาฟริกาเขาก็ทำ  อินเดียเขาก็ทำ และอีกหลายประเทศ  แต่การรถไฟไทยไม่เอา  มันเป็นอย่างนี้

                     สวัสดีค่ะ 
      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8634 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 20:11:08 »

อ้างถึง
ข้อความของ Manop  Klabdee เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 11:20:25
สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                                     การผลิตแบบ Long Line Method นั้นดี ตรงที่แรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรงได้แน่ ๆ เพราะแท่นผลิตยาวมากกว่า ๑๐๐ เมตร  ขอความกรุณาเธอวีดีโอของเดนมาร์ค หรือเนเธอแลนด์ แบบ Long Line เขามีแน่ๆ พี่สิงห์ ต้องการดูรูปบางรูปในการยก  พลิก และแบบ รวมทั้งการลำเรียง ครับ

                     ขอบคุณมาก ๆ ประเทศไทยจะเป็นหนี้ความดีของเธอที่นำความรู้เรื่อง concrete sleeper มาให้  พี่สิงห์  อยากให้โครงการนี้เกิดจริง ๆ  วิศวกรไทย จะได้มีงานทำ  พี่สิงห์ ก็พร้อมที่จะทำ  พร้อมที่จะให้ความรู้  เพื่อให้ต้นทุนในการผลิตต่ำ  ทุกโรงงานสามารถผลิตได้  ไม่ใช่จำกัดเพียงสองรายในปัจจุบัน  มันจึงเกิดไม่ได้สักที เพราะราคามันแพงมาก  มีการติดสินบนกันมาก  รถไฟจึงทำไม่ได้  และต้องแก้ไขข้อกำหนด ตัดคำว่า "ผลิตแบบอัตโนมัติ " ทิ้งเพียงเท่านี้รถไฟไทยเกิดแน่นอนครับ

                     พี่สิงห์อยู่นครศรีธรรมราช

                     สวัสดี


พี่สิงห์คะ,
พี่สิงห์ได้ขยายความรู้ที่พี่รู้ และรู้จริงต่อยอดจาก
ฟิล์มที่ดู ถือว่าได้ประโยชน์ในส่วนของคนอ่าน
ที่ไม่ได้มีพื้นทางengineeringอย่างมากแล้วคะ.

เรื่องการรถไฟไทยจะมีpoliticแอบแฝงยังไง..
หนิงยังไม่เข้าไปสนใจ ห่วงแต่ว่า,เรื่องinfrastructure
นี้เป็นตัวชี้ความพัฒนาก้าวหน้าที่แท้จริง..เพราะให้นึก..
คนที่กิน/ตุกติกเพื่อให้ตัวเองร่ำรวยยิ่งๆ ไม่รู้จะมีประโยชน์
ตรงไหนหากที่ที่เค้าอยู่ยังล้าหลังทรุดโทรม..ขับเบ็นซ์ท่ามกลาง
ความซอมซ่อทรุดโทรมหรือสลัม มองยังไงก็ไม่cool คะ.
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8635 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 20:19:09 »

ปัญหาของการclickหาฟิล์มคือ...ภาษาค่ะ!
หากtippภาษาอังกฤษ หนิงอาจไปป๊ะกะกรุอะไรๆ
นอกยุโรปคะพี่ท่าน

ตั้งใจหาฟิล์มของประเทศในเขตยุโรปก็
ไม่ทราบศัพท์/คำที่แน่นอน

เอาล่ะ เอาล่ะ
จะหาต่อบัดเดี๋ยวนี้ล่ะคะพี่ท่าน

อ้อ,ถ้าเขามาจับหนูไปขังคุก
ฐานสปายกวามรู้ทางด้านวิศวกรรม
พี่สิงห์ช่วยถือโอเลี้ยงไปเยี่ยมหนูด้วยคะ!!
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8636 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 20:37:41 »



พี่สิงห์คะ,
คิดว่าเป็นanimation filmของau..??
ชมฆ่าเวลา ช่วงหนูยังหาที่ตรงๆไม่เจอคะ



<a href="http://www.youtube.com/v/AuXCfPggks8?hl=de_DE&amp;amp;version=3" target="_blank">http://www.youtube.com/v/AuXCfPggks8?hl=de_DE&amp;amp;version=3</a>

http://youtu.be/AuXCfPggks8
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8637 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 21:25:56 »


พี่สิงห์ชมจาก railbetonก่อนคะ
เค้าส่งผลิตภัณฑ์ให้การรถไฟ

สงสัยเป็นสับคอนแทร็ก
จะโมโนโพลรึปล่าว..
ยังสงสัยอยู่คะพี่ท่าน



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/BP7pTx-8IzA?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/BP7pTx-8IzA?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/BP7pTx-8IzA
      บันทึกการเข้า


เอมอร 2515
Cmadong พันธุ์แท้
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: rcu 2515
คณะ: รัฐศาสตร์(นิติศาสตร์)
กระทู้: 4,562

« ตอบ #8638 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 21:38:44 »

สวัสดีค่ะะพี่สิงห์
หากทุกคนที่มีความรู้ นำความรู้้ช่วยประเทศคงดีนะคะ
      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8639 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 21:58:56 »

อ้างถึง
ข้อความของ Manop  Klabdee เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 11:20:25
สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                                     การผลิตแบบ Long Line Method นั้นดี ตรงที่แรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรงได้แน่ ๆ เพราะแท่นผลิตยาวมากกว่า ๑๐๐ เมตร  ขอความกรุณาเธอวีดีโอของเดนมาก หรือเนเทอรแลนด์ แบบ Long Line เขามีแน่ๆ พี่สิงห์ ต้องการดูรูปบางรูปในการยก  พลิก และแบบ รวมทั้งการลำเรียง ครับ

                                         พี่สิงห์อยู่นครศรีธรรมราช

                     สวัสดี


พี่สิงห์ดูทีคะ
ว่าใกล้เคียงกะที่พี่อยากชมรึไม่?


<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/zDPSoSxxcZU?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/zDPSoSxxcZU?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/zDPSoSxxcZU
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8640 เมื่อ: 30 มีนาคม 2556, 23:18:25 »



พี่สิงห์ขอหนิงนอกเรื่องนิด!
ไปเจอะฟิล์มนี้...Zementมาจากไหน?
เห็นว่ามีประโยชน์ดี..
แทรกไว้ที่นี่คะ


<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/PIzwkGe0vKI?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/PIzwkGe0vKI?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>


http://youtu.be/PIzwkGe0vKI
      บันทึกการเข้า


Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8641 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 07:53:44 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 20:37:41


พี่สิงห์คะ,
คิดว่าเป็นanimation filmของau..??
ชมฆ่าเวลา ช่วงหนูยังหาที่ตรงๆไม่เจอคะ



<a href="http://www.youtube.com/v/AuXCfPggks8?hl=de_DE&amp;amp;version=3" target="_blank">http://www.youtube.com/v/AuXCfPggks8?hl=de_DE&amp;amp;version=3</a>

http://youtu.be/AuXCfPggks8

สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                 Animation ของ Smart Tracks นี้ดีมาก ๆ สามารถแก้ปัญหาของรถไฟประเทศไทยได้ดีมาก คือ

                 ปกติ Ballast ก็คือ หินที่ใช้โรยลองไม้หมอนรถไฟ ต้องใช้หินแกรนิต หรือหินทรายที่มรความแข็งมาก หินปูนใช้ไม่ได้  หินที่ลองใต้หมอนรถไฟนี้จะช่วยในการให้น้ำซึมผ่านได้  กรณ๊น้ำท้วมแบบประเทศไทย

                 แต่ปัญหาคืเมื่อน้ำซึมผ่านรถไฟวิ่งก็จะเกิดการกดและเด้งของหินใต้รางผลคือจะทำให้ดินแทรกตัวเข้ามาอยู่ใต้รางเพิ่มขึ้น ๆ นานเข้าน้ำซึมผ่านไม่ได้ ก็เป็นแนวเขื่อนกั้นน้ำและในที่สุดรางก็พังแบบในภาพ

                  Smart Track ออกแบบมาให้แก้ปัญหานี้ ไม่ต้องใช้หินลองรับรางรถไฟ ทำถนนแบบที่เราทำแล้วใช้Smart Track วางและยึดลงไปในดินบดอัดแน่น และน้ำสามารถไหลผ่านรางรถไฟไปได้  รางรถไฟก็ไม่พัง แบบทุกวันนี้ ที่ยังใช้หินโรยใต้หมอนรถไฟอยู่

                   ทุกวันนี้ฝนตก  น้ำท้วม  รถไฟทางขัด  รถตกรางทุกปี ครับ

                   ขอบคุณมากที่นำภาพนี้มาให้ชม  ได้รับความรู้มากครับ

                   สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8642 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 08:07:23 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 21:25:56

พี่สิงห์ชมจาก railbetonก่อนคะ
เค้าส่งผลิตภัณฑ์ให้การรถไฟ

สงสัยเป็นสับคอนแทร็ก
จะโมโนโพลรึปล่าว..
ยังสงสัยอยู่คะพี่ท่าน



<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/BP7pTx-8IzA?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/BP7pTx-8IzA?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/BP7pTx-8IzA

สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                     ในการออกแบบรางรถไฟนั้นโดยเฉพาะทางรถไฟฟ้าในเมือง ยังมี Accessary ที่ประกอบในการออกแบบเพื่อความปลอดภัย และการระบายน้ำ รวมทั้งท่อร้อยสายไฟฟ้าและอุปกรณ์บังคับที่จำเป็น  ยังต้องใช้ชิ้นส่วนคอนกรีตในการรองรับป้องกัน เป็นแนวทางอยู่  ชิ้นส่วนคอนกรีตนี้ก็ต้องออกแบบให้รับน้ำหนักได้ มีความแข็งแรงเพียงพอ

                      ปกติคอนกรีตเราจะทดสอบ ความข้นเหลว (slump) กำลังรับแรงอัด (Compressive strength) กำลังรับแรงดึงที่ผิว (Bending stress) ตอนภาพช่วงแรก ๆ

                      การดูวิดิโอ  นอกจากเราดูขบวนการผลิตแล้ว เราต้องสังเกตุ การออกแบบเครื่องมือ แบบที่ใช้ในการผลิต วิธียึดแบบ ออกแบบหล่อ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ นั่นคือสิ่งที่พี่สิงห์สนใจ ที่สุด

                       เยอรมัน เป็นประเทศที่เก่งในการผลิตเครื่องจักอุปกรณ์ในการก่อสร้างที่สุด โดยเฉพาะโรงงานผลิตชิ้นส่วนคอนกรีต  ทั้ง ๆ คนคิดต้นแบบไม่ใช่ชาวเยอรมัน แต่ผลิตเครื่องจักรเก่ง  ดังนั้น โรงงานในเยอรมันนี มีมาก น่าเสียดายพี่สิงห์  ฟังไม่ออกเลย  เธฮหาโดยภาษาเยอรมันดีที่สุดครับ

                       ขอบคุณมากค่ะ

                       สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8643 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 08:10:03 »

อ้างถึง
ข้อความของ เอมอร 2515 เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 21:38:44
สวัสดีค่ะะพี่สิงห์
หากทุกคนที่มีความรู้ นำความรู้้ช่วยประเทศคงดีนะคะ

สวัสดีค่ะ คุณน้องเอมอร ที่รัก

                       คนเราเก่ง  รู้  เคยทำมาก่อน  อย่างเดียวไม่เพียงพอครับ

                       มันต้องมีโอกาสได้ทำด้วย  จึงเกิดประโยชน์

                       แต่น่าเสียดายคนที่รู้  สามารถทำได้  ไม่มีโอกาส และเขาก็ไม่ให้โอกาส เพราะไม่ใช่พวกเขา

                       นี่คือความจริงสำหรับประเทศไทย  ที่ผ่านมา

                       โอกาส ครับ

                        สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8644 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 08:47:19 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 21:58:56
อ้างถึง
ข้อความของ Manop  Klabdee เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 11:20:25
สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                                     การผลิตแบบ Long Line Method นั้นดี ตรงที่แรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรงได้แน่ ๆ เพราะแท่นผลิตยาวมากกว่า ๑๐๐ เมตร  ขอความกรุณาเธอวีดีโอของเดนมาก หรือเนเทอรแลนด์ แบบ Long Line เขามีแน่ๆ พี่สิงห์ ต้องการดูรูปบางรูปในการยก  พลิก และแบบ รวมทั้งการลำเรียง ครับ

                                         พี่สิงห์อยู่นครศรีธรรมราช

                     สวัสดี


พี่สิงห์ดูทีคะ
ว่าใกล้เคียงกะที่พี่อยากชมรึไม่?


<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/zDPSoSxxcZU?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/zDPSoSxxcZU?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/zDPSoSxxcZU

สวัสดีค่ะ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                    ก็ยังเป็นการผลิตแบบ Shot Line อยู่

                    ในภาพ Coote ก็ทราบปัญหาดีเรื่องแรงดึงในเหล็กเสริมอัดแรง พยายามหล่อยาวสี่ท่อน ความยาวคงได้เพียงไม่เกิน ๖.๐๐ เมตร เพราะถ้าแบบยาวมากกว่านี้ มูลค่าแบบ และความแข็งแรงของแบบ ที่เก็บ  ขนาดเครื่องจักร ขนาดโรงงานต่าง ๆ จะใหญ่โตขึ้นตาม Cost ในการทำเครื่องจักร โรงงานก็แพงตามตัวไปด้วย มันก้ไม่คุ้มกับแรงดีงที่ดีขึ้นเท่าไร

                     บริษัท Coote เก่งในการออกแบบระบบ เครื่องจักรในการผลิตมากครับ แต่ 1000 ล้าน ใครจะลงทุนครับในเมืองไทย  ยกเว้นได้งานมาแล้ว นั้นควรอย่างยิ่ง เพราะมันจะคุ้มทุน แต่อย่าลืม พรรคการเมือง ข้าราชการที่เกี่ยวข้องชัก 20-30% ออกไป  มันจะมีเหลือให้เราหรือ ? นี่ละปัญหาในการลงทุน และความแน่นอนในสัญญา  ซึ่งไม่มีในนักการเมืองไทย ปัจจุบัน

                     สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8645 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 10:02:41 »

อ้างถึง
ข้อความของ khesorn mueller เมื่อ 30 มีนาคม 2556, 23:18:25


พี่สิงห์ขอหนิงนอกเรื่องนิด!
ไปเจอะฟิล์มนี้...Zementมาจากไหน?
เห็นว่ามีประโยชน์ดี..
แทรกไว้ที่นี่คะ


<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/PIzwkGe0vKI?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/PIzwkGe0vKI?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>


http://youtu.be/PIzwkGe0vKI
สวัสดีครับ คุณน้องหนุ๋งหนิ๋ง ที่รัก

                    ก็ดีครับคนทั่วไปจะได้รู้ว่าเขาผลิตปูนซีเมนต์กันอย่างไร  หัวใจของการผลิตคอนกรีตก็คือคุรภาพของปูนซีเมนต์

                     วัสดุหลักในการผลิตปูนซีเมนต์คือ หินปูน(แคลเซี่ยม) เแหล่งหินปูนจึงสำคัญที่สุด อย่างสระบุรีมีแหล่งแร่หินปูนที่ดี คือมีแคลเซี่ยมมากกว่า 90%  ส่วนปูนซิเมนต์ไทยทุ่งสงมีเพียง 85% บางครั้งก็ไม่ถึง คุณภาพปูนจึงไม่ดี

                     เขาจะระเบิดหินมาจากภูเขาหินปูน ในอดียจะใช้คนเจาะหน้าผาแนวนอน แล้วฝังระเบิดคือโปแตสเซี่ยมไนเตรต จะระเบิดหินได้น้อยเพราะต้องใช้คนโรยตัวลงมาเจาะ  ปัจจุบันใช้รถเจาะตามแนวดิ่ง เจาะเพียง สองชั่วโมงก็สามารถระเบิดหินได้แล้ว  ดังนั้น ทุกวันจะมีการระเบิดหินวันละสองครั้ง ต้องให้คนออกไกลเกินรัศมี ต้องแจ้งให้ประชาชนทราบ การระเบิดแต่ละครั้งต้องฉีดน้ำป้องกันฝุ่นฟุ้ง (แต่ก็ไม่ทำกัน)

                     นอกจากหินปูนแล้วยังต้องผสมลูกรัง(มีสีแดงเพราะมีแร่เหล็ก) และดินดานคืดินเหนียวเม็ดละเอียด เมื่อเอาหินไปบดจนได้ขนาดเล็ก ๆ แล้วจึงเอาวัสดุหลักทั้งสามไปเผาที่อุณหภูมิมากกว่า ๑๐๐๐ องศา C จะได้วัสดุตัวใหม่เมื่อเย็นลงเป็นก่อนสีเทาเรียกว่าคลิ้งเก่อ แล้วเอาคลิ้งเกอไปบดผสมวัสดุอื่นเพื่อเติมให้เป็นคุณสมบัติของซีเมนต์ชนิดต่าง ๆ ตามที่เราเห็น

                      ปัจจุบันโรงงานในเมืองไทยผลิตแบบอัตโนมัติ ควบคุมโดยcomputer หมดในระบบ ดูเพียงหน้าจอเท่านั้น ไทยถือว่าเป็นประเทศส่งออกซีเมนต์คุณภาพรายหนึ่งของโลก

                       เมื่อวัพฤหัสบดีที่ผ่านมา มีชาววาอุดิอาระเบียมาขอดูโรงงานที่สระบุรี เขาบอกว่าแต่ละปีที่ซาอุฯจะต้องสร้างหมู่บ้านปีละมากกว่า ๑๐๐๐๐ ยูนิต ปัญหาคือ ซื้อปูนจากจีน  ซื้อเหล็กจากจีน ซื้อหินจากอินโด  ซื้อทรายจากฟิลิปปินส์ และใช้แรงงานจากอินเดีย  ปีกีสถานและบังคลเประเทศ  จึงมีค่าก่อสร้างที่แพง  แต่ถ้า สร้างบ้านสำเร็จทุกอย่างรวมทั้งระบบต่าง ๆ จากประเทศไทย  ใส่เรือไปส่งที่ซาอุ มันน่าจะถูกกว่าการไปทำที่ซาอุ  เขาจึงมาศึกษา และหาหุ้นส่วนในเมืองไทยครับ

                       สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8646 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 10:07:47 »

สวัสดีครับ ชาวซีมะโด่งและแขกผู้มาเยือน ที่รักทุกท่าน

                         เช้านี้อากาศที่นครศรีธรรมราช  ร้อน ไม่มีเมฆ  ฝนไม่ตกมานานแล้ว  ต้นยางพาราใบเหลืองจะเป็นพญาไร้ใบ แล้ว  คนงานทำงานกลางแจ้งไม่ไหว เพราะมันร้อน ครับ

                         เช้านี้ได้ออกกำลังกาย  แต่ไม่ได้ใส่บาตรพระเพราะไม่มีรถไปใส่บาตรที่ตลาดท่าวัง

                         กลับกรุงเทพ Boarding 15:55 น. ถ้า Nok Air บินตรงตามเวลา

                         อยู่นครศรีธรรมราชสบายด้วยประการทั้งปวง  พอดีลืมโทรศัพท์เอาไว้ที่บ้าน ไม่ได้นำมาด้วย  ก็ดีไปอย่างหนึ่งครับ  จึงต้องใช้ Email ไปบอกหลานสาวให้ทราบแทน

                         ขอตัวประชุมก่อนครับ เช้านี้

                         สวัสดี
      บันทึกการเข้า
Manop Klabdee
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


พอเพียง มีสติ เกิดปัญญา
ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2513 วศ. รุ่นที่ 54
คณะ: วิศวกรรมศาสตร์ แผนกวิชาวิศวกรรมโยธา
กระทู้: 11,644

« ตอบ #8647 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 10:20:18 »








                        แบบเดิมที่ทำ เอาโฟมเสริมเหล็กมาประกอบเป็นผนังบ้าน พื้น หลังคา และทำการฉาบปูน-ทรายหนา สองถึงสามเซ็นติเมตร ก็เพียงพอแล้ว

                        แต่สิ่งที่เขาเอามาให้พี่สิงห์ทำต่อ คือ แทนที่จะฉาบปูน-ทราย ขอให้หล่อเป็นคอนกรีตแทนทั้งสองด้าน เป็นการหล่อจากโรงงานเอาไปติดตั้งแทน

                         ข้อดีเป็นฉนวนป้องกันอุณหภูมิ  หล่อสำเร็จสวยงาม จากโรงงาน และปัจจุบันมีความต้องการอย่างมากครับ

                          พี่สิงห์  จึงต้องหาความรู้ต่าง ๆ เอามาประดิษฐ์ เครื่องมือ วิธีการผลิต ให้เป็นอุตสาหกรรม ในต้นทุนที่ไม่แพงมากนัก  แข่งขันได้  นั่นคืองานที่จะต้องคิด  ออกแบบ  วางระบบในการผลิต

                         สวัสดี
      บันทึกการเข้า
khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8648 เมื่อ: 31 มีนาคม 2556, 19:17:13 »


พี่สิงห์คะ,
เดินทางกลับถึงกทม รึยังคะ?

ที่โน่นเค้านิยมสร้างบ้านคุณภาพ
ด้วยอิฐดินเผาค่ะ แพงนิด ยินว่า
ทนทานนานยาวกว่าวัสดุอื่นๆที่ว่า
คิดค้นผลิตขึ้นมาเพื่อความมั่นคง
แข็งแรงแต่น้ำหนักเบา..ห้องใต้ดินนั้นยัง
นิยมผนังคอนกรีตเสริมเหล็กมีชนวนตรง
กลางแบบแซนวิชคะ แต่เหนือชั้นใต้ดินขึ้นมา
ใช้อิฐ ใช้ก้อนytong ใช้ผนังแซนวิชไม้อัด
จะอะไรก็ตามคะ...อิฐเผานี้ยังถือว่า"massive"
แพง เจ้าบ้านผู้สร้างบ้านที่โน่นที่ยังอนุรักษ์
ค่านิยมความเชื่อถือ ยินดีจ่ายเพื่อวัสดุแข็งแรงนี้

หนิงเจอะฟิล์มอิฐบล็อคดินเผานี้โดยบังเอิญ
นำมาแนบไว้ด้วยกันคะพี่ท่าน.


<a href="http://www.youtube-nocookie.com/v/oelOeOJCcz0?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0" target="_blank">http://www.youtube-nocookie.com/v/oelOeOJCcz0?version=3&amp;amp;hl=de_DE&amp;amp;rel=0</a>

http://youtu.be/oelOeOJCcz0
      บันทึกการเข้า


khesorn mueller
Cmadong อภิมหาอมตะเซียน
******


ออฟไลน์ ออฟไลน์

รุ่น: 2527
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 71,885

« ตอบ #8649 เมื่อ: 01 เมษายน 2556, 22:23:57 »


พี่สิงห์ที่เคารพ
หนิงไปเดินเล่นในป่าวันนี้
พบเค้านำหมอนไม้รถไฟเก่า
นำมาใช้ประโยชน์ปูเป็นทางเดิน
คิดถึงพี่สิงห์คะ



      บันทึกการเข้า


  หน้า: 1 ... 344 345 [346] 347 348 ... 681   ขึ้นบน
  
กระโดดไป:  

     

ทำไมหอพักนิสิตจุฬาจึงเป็นดินแดนมหัศจรรย์            " ไม่ได้เป็นแค่หอให้นอนพัก  แต่เป็นบ้านอบอุ่นรักให้อาศัย  ไม่เป็นแค่ที่ซุกหัวยามหลบภัย  แต่สร้างใจให้เข้มแข็งแกร่งการงาน"  <))))><