churaipatara
|
|
« ตอบ #17750 เมื่อ: 08 กันยายน 2559, 16:49:39 » |
|
คำว่า อย่ากลัว หมายถึง อย่าตกใจ อย่ากลัวว่าลูกจะทำให้คุณบาดเจ็บ จงสงบและพูดกับลูกอย่าง
หนักแน่นว่า อาการก้าวร้าวดังกล่าวไม่ใช่วิธีแก้ปัญหา ลูกโกรธอะไรก็ให้พูดออกมา คุยกันและตก-
ลงกันถึงขอบเขตว่าลูกจะทำอะไรได้ หรือทำอะไรไม่ได้ อย่าปล่อยให้ลูกทำร้ายคุณด้วย...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17751 เมื่อ: 08 กันยายน 2559, 16:51:02 » |
|
ดูแลตัวเองที่ศูนย์สุขภาพฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17752 เมื่อ: 08 กันยายน 2559, 16:51:47 » |
|
ฝนตกหนักแล้ว พบกันใหม่พรุ่งนี้ค่ะ บ๊ายยย
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17753 เมื่อ: 08 กันยายน 2559, 16:53:33 » |
|
ชอบทานอาหารที่นี่มากเลย กับลูกๆหลานๆยิ่งอิ่มมอุ่นน...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17754 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:09:29 » |
|
สวัสดีค่ะ
ทำงานเพลินๆแป้ปเดวก้อวันศุกร์ สุขสดชื่นนะคะ ศรีสะเกษวันนี้ฟ้าครึ้มสลับแดดออกตลอดครึ่งวันนี้
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17755 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:11:12 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17756 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:18:35 » |
|
สาระน่ารู้(ต่อ)
..เพราะการทำเช่นนั้นจะทำให้ตัวคุณกลายเป็นพ่อแม่ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ลูกจะไม่เกรงใจ
คุณทีหลัง นอกจากนี้มันยังทำให้ลูกรู้สึกผิดและกลัว (เด็กส่วนใหญ่ที่ทำร้ายพ่อแม่จะเกิดความรู้สึก
ผิดที่ตนทำเช่นนั้น ขณะเดียวกันก็กลัวความรุนแรงที่ซ่อนอยู่ภายในตนเองด้วย)
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17757 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:20:35 » |
|
ANANTARA หัวหิน
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17758 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:40:20 » |
|
ความรู้สึกดังกล่าวจะทำให้ลูกสับสนและปั่นป่วนภายในมากขึ้น หากลูกมีพฤติกรรมก้าวร้าวบ่อยๆ คุณ
ควรปรึกษาจิตแพทย์เด็กและหัดเรียนวิธีจับลูกจากแพทย์ เพื่อจะได้นำมาใช้ควบคุมไม่ให้ลูกทำร้าย
คุณ หรือทำร้ายตนเอง การใช้ยาเพื่อช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าวอาจเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อไม่ให้เด็กเกิดอา-
การดังกล่าวจนเป็นนิสัย...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17759 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 13:44:13 » |
|
เดินชมบริเวณ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17760 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:18:15 » |
|
12. ฝึกให้ลูกรู้จักรอคอยและอดทน
เวลาลูกขออะไรก็ไม่ต้องรีบร้อนทำให้ หัดให้รอบ้าง และจงให้ลูกทำอะไรด้วยตนเองบ้างไม่ใช่ทำให้
ลูกเสียหมด แล้วอย่าเลี้ยงลูกสบายเกินไป จงหัดให้ลูกลำบากบ้าง
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17761 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:19:27 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17762 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:32:51 » |
|
13. ควบคุมการดูโทรทัศน์และเล่นเกม
รายการโทรทัศน์รวมทั้งวิดิโอเกมและเกมคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน มีเรื่องราวที่ส่อไปในทางก้าวร้าวรุน-
แรงมากขึ้นกว่าแต่ก่อน คุณควรควบคุมการดูรายการหรือการเล่นเกมของลูกบ้าง มิฉะนั้นลูกจะซึม
ซับเอาภาพความก้าวร้าวนั้นไว้ในตัว และมันจะกลายเป็นปฏิกิริยาอัตโนมัติของลูก เมื่อประสบกับ
ความคับข้องใจ...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17763 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:33:45 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17764 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:37:26 » |
|
14. ให้ลูกออกกำลังกายอย่างจริงจัง
การให้ลูกออกกำลังกายอย่างหนักทุกวัน เช่น ออกกำลังกายอย่างน้อยครึ่งชม.จนได้เหงื่อ จะช่วย
ลดอาการอยู่ไม่นิ่ง อาการยุ่งวุ่นวายอาละวาดก้าวร้าวได้และลูกจะมีสมาธิดีขึ้น
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17765 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:38:28 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17766 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:41:57 » |
|
นอกจากนี้การออกกำลังกายเกินครึ่งชม.จนได้เหงื่อนั้น จะทำให้สมองหลั่งสารเอนดอร์ฟิน หรือฮอร์
โมนแห่งความสุขออกมา สารนี้จะทำให้ลูกอารมณ์ดีขึ้น ความหงุดหงิดก้าวร้าวก็จะลดลงด้วย
15. จงเป็นตัวอย่างที่ดี
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17767 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 14:42:46 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17768 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 15:44:50 » |
|
เด็กADHDจดจำสิ่งที่เห็นด้วยตาได้ดีกว่าสิ่งที่ตนได้ยิน ดังนั้น จงแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ดีให้ลูก
เห็นไม่ว่าจะเป็นการเก็บข้าวของที่คุณใช้แล้วอย่างเป็นระเบียบ การควบคุมอารมณ์ไม่โมโหฉุนเฉียว
หรือการนั่งอ่านหนังสือและทำงานที่คุณรับผิดชอบจนเสร็จ เป็นต้น
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17769 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 15:46:35 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17770 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 15:56:39 » |
|
ทั้งหมดนี้เป็นคำแนะนำเบื้องต้นในการจัดการกับพฤติกรรมของเด็กทั่วไป เนื่องจากเด็กแต่ละคนมี
บุคลิกแตกต่างกัน ปัญหาแตกต่างกันและความรุนแรงของโรคก็แตกต่างกันไปด้วย หากคุณลองวิ-
ธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผล คุณควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้คุณแก้ไขลูกได้ตรงจุดมากขึ้น...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17771 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 15:59:15 » |
|
ร้านนี้อร่อยมากค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17772 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 16:12:09 » |
|
คุณครูคือคนสำคัญ
ครูคือบุคคลที่สำคัญมากในการช่วยเหลือเด็กADHD เพราะแม้ว่าเด็กจะมีปัญหาหลายอย่างก็ตาม
แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือปัญหาการเรียน ครูที่ดีเข้าใจเด็ก มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคนี้และมีความ
มุ่งมั่นในการช่วยเหลือเด็ก สามารถทำให้ชีวิตของเด็กประสบความสำเร็จแทนความล้มเหลว...
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17773 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 16:13:19 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #17774 เมื่อ: 09 กันยายน 2559, 16:22:55 » |
|
พบกันใหม่วันจันทร์นะคะ บ๊ายยย
|
|
|
|
|