churaipatara
|
|
« ตอบ #14950 เมื่อ: 02 มีนาคม 2558, 17:00:42 » |
|
ก้อย เศรษฐศาสตร์ค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14951 เมื่อ: 02 มีนาคม 2558, 17:05:40 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามักจะด่วนสรุปหรือเหมารวมเหตุการณ์ที่เกิดในทางด้านลบกับตนเอง ภรรยาที่ -
ซึมเศร้าอาจจะแปลท่าทางของสามีที่เหนื่อยอ่อนว่า "เขาเบื่อฉันเต็มทีแล้ว" ..ปฏิกิริยาของหญิง
คนหนึ่งที่มีต่อคู่หมั้นที่แสดงท่าทีเงียบเฉยว่า "เธอสรุปเลยว่าเขาโกรธเธอเป็นประจำ"..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14953 เมื่อ: 02 มีนาคม 2558, 17:09:27 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-และความคิดนั้นก็ขยายต่อไปอีกว่า "เพราะฉันมักจะเข้ากับคนอื่นไม่ได้" และต่อไปอีกว่า "ที่เป็น -
อย่างนั้นก็เพราะฉันเป็นคนไม่มีบุคลิก" ซึ่งเธอสรุปได้ในที่สุดว่า "ไม่มีใครชอบฉันเลยและฉันจะรู้ -
สึกโดดเดี่ยวเสมอ"..
พบกันใหม่พรุ่งนี้นะคะ สวัสดีค่ะ
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14955 เมื่อ: 03 มีนาคม 2558, 15:51:28 » |
|
สวัสดีค่ะ
ตลอดวันเตรียมรายละเอียดโครงการที่จะจัดทำในวันที่20มีค.ค่ะ ..เที่ยงก้อดูแลจัดอาหารสำหรับพ.
สมทบหกคน รับทานกันเสร็จก้อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆต่อในช่วงบ่ายโมงได้เลย
ขอบคุณเพื่อน24ที่สนับสนุนกิจกรรมโครงการของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษอย่าง
ต่อเนื่อง ..ดีใจมากค่ะที่ได้ทำคุณประโยชน์ ทำบุญร่วมกัน..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14957 เมื่อ: 03 มีนาคม 2558, 16:51:03 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-เบคสรุปว่า ทั้งหมดนี้เป็นการเหมารวม ผู้ที่คิดแบบนี้มักจะใช้คำพูดที่ว่า "ไม่เคย" "เสมอๆ" "ทั้งหมด"
และ"ไม่มีใครเลย" ซึ่งเป็นคำพูดที่พบในคนที่เป็นโรคอารมณ์ซึมเศร้า ..ยกตย.นักวิทยาศาสตร์อายุ55
ปี ป่วยด้วยโรคอารมณ์ซึมเศร้าเรื้อรัง ซึ่งบางช่วงมีอาการของโรคอารมณ์ซึมเศร้าชนิดรุนแรงเป็นเวลา
สิบปี เขามีปัญหาชีวิตสมรสมานานเป็นปีๆ และขณะนั้นได้เกิดอารมณ์ซึมเศร้าขึ้นอีก..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14959 เมื่อ: 03 มีนาคม 2558, 16:58:28 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ในการรักษาระยะแรก ผู้ป่วยได้เรียนรู้ที่จะเฝ้าสังเกตและบันทึกความคิดในด้านลบของเขา เช่น
"ผมแสดงความรู้สึกดีๆกับภรรยาไม่ได้" "ผมรู้สึกแแปลกแยกจากคนในครอบครัว" หรือปัญหาใน
ที่ทำงาน เช่น "ผมเป็นคนไม่มีความคิดเห็น" "สมองเฉื่อยไปหมด" "ผมพูดอะไรไม่ออกในที่ประ-
ชุม" ..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14961 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 11:28:23 » |
|
สวัสดีค่ะ
วันมาฆบูชาได้ไปไหว้พระทำบุญกัน และช่วงเย็นก้อไปชมงานงิ้วอีกด้วย ..ทุกคนสบายดีนะคะ
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14963 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 11:43:29 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-เบคได้กล่าวว่า เมื่อสนใจความนึกคิดที่ทำให้เกิดอารมณ์ซึมเศร้าของผู้ป่วยไว้ทั้งหมด จะพบว่าพฤติ-
กรรมตลอดชีวิตของผู้ป่วยวางอยู่บนฐานของการที่จะต้องเป็นคนเพียบพร้อมทำอะไรถูกหมดทุกอย่าง
ถ้าเขาไม่เพียบพร้อม คนอื่นจะไม่ยอมรับเขา และถ้าคนอื่นไม่ยอมรับ ตัวเขาเองก็ไม่มีสิทธิที่จะอยู่เป็น
ผู้เป็นคนต่อไป..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14965 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 11:50:48 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ผู้รักษาจะให้ผู้ป่วยทดสอบพฤติกรรมและการแปลความหมายพฤติกรรมแบบอื่นเช่น ผู้ป่วยจะต้อง-
ทำพฤติกรรมที่เขาคิดว่าคนอื่นยอมรับไม่ได้ ซึ่งจะทำให้เขาได้ทดสอบความคิดตนเอง และได้เรียน
รู้ว่าพฤติกรรมมากมายที่เขายึดติดอยู่นั้นไม่เป็นจริง..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14967 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 13:57:56 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-แค่เปลี่ยนความคิดใหม่ก็ช่วยแก้โรคอารมณ์ซึมเศร้าได้ โดยเฉพาะถ้าทำร่วมกับการเปลี่ยนพฤติ -
กรรม ในการรักษาครั้งแรกๆเบคได้กล่าวว่า เราจะใช้เทคนิคการฝึกพฤติกรรม เช่น ให้จดรายการ
ของพฤติกรรม วางแผนในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ทำตารางกิจกรรมที่สนุกสนาน ..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14969 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 14:04:20 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-เทคนิคเหล่านี้จะช่วยเข้าไปในวงจรของการเกิดอารมณ์ซึมเศร้า และจะเป็นการช่วยหันเหความสน-
ใจของผู้ป่วยออกจากการจมอยู่ในความคิดที่ซึมเศร้า และทำให้ผู้ป่วยเลิกยึดติดกับความเชื่อที่ว่า
ตัวเขาไม่สามารถทำอะไรได้ และไม่สามารถมีอาการดีขึ้น..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14970 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 14:15:05 » |
|
ลูกๆไปเที่ยวกันค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14971 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 14:54:40 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-แบบการปรับเปลี่ยนความนึกคิด เช่น ต้องทำการบ้านและบันทึกว่า สัปดาห์นี้ เมื่อรู้สึกโกรธจะต้อง-
จดบันทึกไว้หรือพูดออกมาทันที สัปดาห์นี้ จะต้องไปนัดกินอาหารกลางวันกับคนที่ไม่สนิท เพื่อที่
จะได้รู้จักเขามากขึ้น สัปดาห์นี้ ถ้ารู้สึกว่าพูดผิด ไม่ว่าจะเล็กน้อยแค่ไหน จะต้องหยุดพูดทันทีแล้ว
พูดใหม่ให้ถูกต้อง ..
บางวิธีก้อนำมาปรับใช้กับการพูดคุย ปรับพฤติกรรม ของลูกหลาน ลูกศิษย์ ได้นะคะ..
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14973 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 15:03:05 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-มีวิธีของนักจิตวิทยาอัลเบิร์ต เอลลิส เรียกว่า การบำบัดอารมณ์ด้วยเหตุผล มีหลักว่า คนเรามีสิทธิ
เลือกที่จะคิดและรู้สึกได้ทั้งในจิตสำนึกและจิตใต้สำนึก คนเราสามารถสร้างปัญหาทางอารมณ์ได้ -
โดยผ่านความคิดที่ไม่มีเหตุผลหรือความเชื่อที่ไร้เหตุผล ไม่ว่าจะเกิดจากพันธุกรรมหรือการเลี้ยงดู..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14974 เมื่อ: 05 มีนาคม 2558, 15:09:06 » |
|
ลูกๆไปราวปลายมกราค่ะ.ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส
|
|
|
|
|