churaipatara
|
|
« ตอบ #14900 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 15:08:08 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14901 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 15:21:48 » |
|
วันนี้ทั้งวันเอ๋ก้อเตรียมเอกสาร ประสานงาน ฯ โครงการที่เอ๋รับผิดชอบที่จะต้องดูแลเยาวชนศุกร์ -
เสาร์อาทิตย์ เสร็จเรียบร้อยด้วยดีแล้วค่ะ ..รีบเข้ามาทักทายกันก่อน เพราะทำงานเพลินๆก้อบ่าย
สามแล้ว ..วันนี้ที่ศรีสะเกษอากาศครึ้มฟ้าครึ้มฝนตั้งแต่เช้าจนเวลานี้ เมื่อคืนมีฝนตกด้วยค่ะ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14902 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 15:27:03 » |
|
พี่ชายที่แสนดีส่งมาให้ค่ะ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14903 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 15:55:33 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ต่อไปผู้ป่วยจะต้องกำหนดจุดหมายว่าจะแก้ไขพฤติกรรมอะไรของตน และแก้ไขมากแค่ไหนโดย
จุดหมายนี้จะต้องทำได้จริงๆ เพื่อเป็นหลักประกันว่าจะต้องทำได้สำเร็จ ..นอกจากนั้นผู้ป่วยอาจ -
ต้องมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบางอย่างที่ทำให้เกิดผลต่ออารมณ์ซึมเศร้าโดยตรง
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14904 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 15:57:21 » |
|
อยู่สนามบินกำลังจะกลับศรีสะเกษกัน ..หลังจากอบรมสามวันที่กทม.เสร็จเรียบร้อยค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14905 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 16:03:55 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ผู้ป่วยจะทำอย่างนี้ได้โดยมีการบ้านไปทำ ผู้ป่วยจะต้องฝึกอย่างสม่ำเสมอช่วงที่อยู่บ้านก่อนมาพบ
ผู้รักษาแต่ละครั้ง เมื่อผู้ป่วยได้กำหนดขั้นตอนและเป้าหมายของพฤติกรรมที่จะแก้ไขแล้ว ผู้รักษา-
จะตั้งพฤติกรรมให้ผู้ป่วยฝึก ซึ่งบางอย่างอาจดูเหมือนการกระทำที่โง่ๆ แต่ตามหลักแล้วคนเราจะ
ทำพฤติกรรมใดซ้ำก็ต่อเมื่อมีการกระทำที่ได้ผลในครั้งแรก..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14906 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 16:11:42 » |
|
นี่ก้ออีกท่านพี่ชายที่แสนดี ปธ.คณะพ.สมทบ นายศรีวรรณ เกียรติสุรนนท์ค่ะ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14907 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 16:38:20 » |
|
โครงการครอบครัวสัมพันธ์ผ่านไปด้วยดีนะคะ วิทยากรคือพ.สมทบ นายพรหม ดาศรี นางบุญเจือ
นวลแสง ร่วมกับนักจิตวิทยาประจำศาลฯ จัดทำกิจกรรมหลากหลายตลอดวันสำหรับผู้ปกครอง -
และเยาวชน เพิ่มความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีต่อกัน แนะนำสิ่งที่ควรกระทำต่อกันและกัน..
พบกันใหม่พรุ่งนี้นะคะ บ๊ายยย..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14908 เมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2558, 16:39:37 » |
|
นางถกลกรรค์ ตั้งจิตธรรม นางบุญเจือ นวลแสง นางมาลี ชนะมี
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14909 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 10:53:09 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-งานที่ผู้ป่วยต้องทำที่ว่าเหมือนงานโง่ๆคืออะไร..ไม่ได้เป็นเรื่องท้าทายเหมือนกับให้ไปปีนยอดเขา
เป็นงานด้านกิจกรรมสังคม เช่น จะเริ่มพูดอะไรในการทักทายสังสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนอารมณ์ซึม -
เศร้าส่วนมากไม่กล้าทำ ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14910 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 10:55:14 » |
|
ปธ.คณะพ.สมทบ นายศรีวรรณ เกียรติสุรนนท์
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14911 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 10:59:31 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ที่จริงสิ่งที่เราต้องการให้คนอารมณ์ซึมเศร้าทำก็คือ สิ่งที่คนส่วนใหญ่ชอบหรือสนุกที่จะทำนั่นเอง
ตย.ที่เลวินซอนใช้ในหลักสูตรการปรับตัวกับอารมณ์ซึมเศร้า จะเป็นกิจกรรมประจำวันที่น่าสนุกถึง
320อย่าง เช่น การเดินเล่น หรือการอ่านหนังสือ ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14912 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:00:52 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14913 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:05:08 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถประเมินกิจกรรมที่สนุกสนานแต่ละอย่างได้ มีผลทำให้เขาได้รุ็พฤติกรรม-
ที่เขาควรทำเพื่อให้หายจากอารมณ์ซึมเศร้า
-มีเทคนิคหลายอย่างที่คาบเกี่ยวกันระหว่างพฤติกรรมบำบัดและเทคนิคในการปรับเปลี่ยนความนึก
คิด เช่น ทักษะในการเข้าสังคมเพื่อช่วยพัฒนาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14914 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:07:36 » |
|
อบรมฯวันที่2-4กพ.ณ.ห้องประชุมรพ.พระมงกุฏฯ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14915 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:21:11 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-..และการปรับตัวหรือการพัฒนาการการจัดการตนเอง เพื่อช่วยในการปรับตัวกับเรื่องจุกจิกเล็กน้อย
ในชีวิต แทนที่จะเครียดไปกับมัน เทคนิคอื่นๆก็เช่น การฝึกการแสดงออก การฝึกผ่อนคลายตนเอง
ฝึกการตัดสินใจ ฝึกการแก้ปัญหา ฝึกการสื่อสารกับผู้อื่น และฝึกบริหารเวลา
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14916 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:26:28 » |
|
ที่พักอยู่ใกล้ๆกัน นัดมาที่ประชุมกันแต่เช้าๆ
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14917 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:30:15 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-ตย.เช่น ในการฝึกพฤติกรรมบำบัดอาจจะมีการสอนทักษะการสนทนา เช่น จะเริ่มสนทนากันอย่าง
ไร การตั้งคำถาม การแแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสม การจบการสนทนาอย่างนุ่มนวล เขาอาจ-
จะเรียนรู้การแสดงออกในด้านบวกเช่น จะพูดชมหรือแสดงความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นอย่างไร ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14918 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:31:28 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14919 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:53:34 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-แม้แต่การกล่าวขอโทษตลอดจนการแสดงออกในด้านลบ เช่น การเรียกร้องสิทธิของเขาเอง การ-
แสดงออกถึงความต้องการของเขา เป็นต้น
-ผู้ที่มีอารมณ์ซึมเศร้ามักจะมีทักษะทางสังคมต่ำ มีความอึดอัดและตื่นเต้นกังวลเวลาเข้าสังคม ..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14920 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:54:43 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14921 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 11:59:35 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-..ทำให้เขาไม่รู้สึกสนุกหรือพึงพอใจที่จะเกี่ยวข้องกับคนอื่น ซึ่งนำไปสู่การเสียอารมณ์..ถ้าคนที่มี
อารมณ์ซึมเศร้าสามารถสนทนากับผู้อื่นได้อย่างคล่องแคล่ว จะเกิดความลื่นไหลขึ้น ทำให้สร้าง -
ความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ง่ายขึ้นหรือถ้าเขากล้าแสดงออกเขาก็จะรู้สึกมีชีวิตชีวามากขึ้น สามารถ -
พัฒนาชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14922 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 12:00:46 » |
|
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14923 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 12:13:34 » |
|
สาระฯ(ต่อ)
-เลวินซอนได้พูดถึงเรื่องการบริหารเวลาว่า คนที่มีอารมณ์ซึมเศร้ามักใช้เวลาไม่เป็น เนื่องจากขาด-
การวางแผนล่วงหน้า เช่น ไม่รู้จักหาพี่เลี้ยงเด็กเมื่อไม่อาจดูแลลูกด้วยตัวเองได้ ไม่สามารถหากิจ -
กรรมที่สนุก เช่น การไปดูหนัง ดังนั้นในการทำพฤติกรรมบำบัด เขาจะได้เรียนรู้ที่จะวางแผนและกำ
หนดเวลาในการดำเนินชีวิตประจำวันได้..
รู้จักหลายคนที่ไม่เคยไปดูหนัง ..และหลายคนที่บ่นว่าเหงา แต่ไม่พยายามหาทางให้ตัวเองสุขสด-
ชื่น กลับวนเวียนมาเหงาอีก..
|
|
|
|
churaipatara
|
|
« ตอบ #14924 เมื่อ: 20 กุมภาพันธ์ 2558, 12:15:57 » |
|
1กพ.แวะเยี่ยมเยียนครอบครัวของผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดสระบุรี นายวีระ คงทวีเลิศ
|
|
|
|
|