ทราย 16
|
|
« ตอบ #1000 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 07:33:48 » |
|
อ.ปี๊ดคะ ศิษย์ยังไม่ได้หายไปไหนค่ะ วันหยุดยาว เลยแว๊บไปดูนกในป่าค่ะ กลับมาแล้ว ... ได้คำตอบจาก อ.ปี๊ดแล้วว่า ทำไมสีเหลือง + น้ำเงิน จึงได้เขียวขี้ม้า ที่มากกว่านั้น ... คือผสมแล้ว ได้สีเน่าๆ เป็นประจำค่ะ แฮะๆๆ ยังต้องเรียนอีกนานนนนน ... ทราย 16
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1001 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 07:39:11 » |
|
ขอบคุณพี่ป๋องค่ะ เป็นรูปอาคารที่สวยทั้งของจริงและภาพวาดค่ะ อีกกี่ชาติที่เราจะมีความ สามารถวาดได้หยั่งงี้นิ ทราย 16
|
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1003 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 10:12:04 » |
|
พี่ปี๊ดคะ นกแหวกพงหญ้าน่ะ ยังไม่ได้เริ่มค่ะ ที่ทำเสร็จในวันหยุดที่ผ่านมา คือหาสถานที่ปลีกวิเวก ไปดูนกในป่า พร้อมกะหนีบ นกกระเต็นตัวนี้ค่ะ เข้าป่า ไปแต่งเติมเสริมสี ตามทฤษฎีที่เรียนมากะพี่ปี๊ดนี่แหละค่ะ ขอบคุณคุณครูปี๊ดที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา แต่ทา (สี) ยังไงๆ ก็ได้แค่เนี๊ยยยยค่ะ ทราย 16
|
|
|
|
|
wannee
Global Moderator
Cmadong พันธุ์แท้
ออฟไลน์
รุ่น: จุฬาฯรุ่นประวัติศาสตร์ 2516
คณะ: ทันตแพทยศาสตร์
กระทู้: 4,806
|
|
« ตอบ #1005 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 16:15:39 » |
|
สวัสดีค่ะ พี่นี้-มีนา
|
"เสียด" ภาษาจีนฮากกา แปลว่า หิมะ
|
|
|
wannee
Global Moderator
Cmadong พันธุ์แท้
ออฟไลน์
รุ่น: จุฬาฯรุ่นประวัติศาสตร์ 2516
คณะ: ทันตแพทยศาสตร์
กระทู้: 4,806
|
|
« ตอบ #1006 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 16:23:40 » |
|
อจ.ปิ๊ดสอนไปเรื่อยๆ ก็ต้องมีคนเก็ตละค่ะ
|
"เสียด" ภาษาจีนฮากกา แปลว่า หิมะ
|
|
|
มีนา
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2515
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 1,865
|
|
« ตอบ #1007 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 17:54:35 » |
|
...สวัสดีจ้ะ หมอเสียด ... เตรียมรับน้ำท่วมหรือยัง เมืองจันท์ขาประจำอยู่แล้วนี่ ขอให้บ้านรอดจากน้ำท่วมเน้อ
|
|
|
|
มีนา
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2515
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 1,865
|
|
« ตอบ #1008 เมื่อ: 26 ตุลาคม 2553, 17:57:43 » |
|
เข้ามาดูรูปฝีมือ ดร.ทรายบ่อยๆ ไม่ได้ส่งเสียงซักที ฝีมือเยี่ยมมากจ้า
|
|
|
|
suriya2513
|
|
« ตอบ #1009 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 01:55:20 » |
|
โห๋ เว้นวรรคไว้ให้ถามว่าผู้เขียนคือใคร ก็ไม่มีใครสนใจถามกันเลย
เฉลยเองก็ได้ครับว่า...&&้ ท่านคือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ (อู๊ดดี้110) ภาควิชาออกแบบภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 ประเทศไทย Asst.Prof.Chainarong Ariyaprasert. Department of Interior Design , Faculty of Decorative Arts. Silpakorn University. 31 Napralan road.Pranakorn Bangkok. 10200 Thailand
|
[โบราณคดี]จุดกำเนิดเริ่มต้นของ cmadong.com by : มานพ กลับดี คลิ๊ก->
|
|
|
ตี้ถาปัด
|
|
« ตอบ #1010 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 09:05:02 » |
|
สวยมากเลยครับพี่ป๋อง มุมลึกและเห็นรายละเอียดชัดเจนมากเลยครับ ชอบมากครับ จะกดคำว่า Like ให้สัก 100ครั้งได้ไหมครับ ขอบคุณพี่ป๋องที่แล่งปันกันชมครับ
|
2437041
|
|
|
wannee
Global Moderator
Cmadong พันธุ์แท้
ออฟไลน์
รุ่น: จุฬาฯรุ่นประวัติศาสตร์ 2516
คณะ: ทันตแพทยศาสตร์
กระทู้: 4,806
|
|
« ตอบ #1011 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 09:15:23 » |
|
ปีนี้ จันท์ค่อนข้างโชคดีค่ะ พี่นี้
|
"เสียด" ภาษาจีนฮากกา แปลว่า หิมะ
|
|
|
wannee
Global Moderator
Cmadong พันธุ์แท้
ออฟไลน์
รุ่น: จุฬาฯรุ่นประวัติศาสตร์ 2516
คณะ: ทันตแพทยศาสตร์
กระทู้: 4,806
|
|
« ตอบ #1012 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 09:17:20 » |
|
สวัสดดีค่ะ น้องตี้ถาปัด มือถ่ายรูปชั้นเทพของรุ่น 2524
|
"เสียด" ภาษาจีนฮากกา แปลว่า หิมะ
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1013 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 14:23:38 » |
|
พี่ป๋องคะ บอกที่อยู่ได้ละเอียดหยั่งงี้ วันหลังต้องตามไปดูถึงที่สิคะ (ม.ศิลปากร) ว่าแต่ว่า อ.ชัยณรงค์นี่ ... พี่ป๋องรู้จัก หรือสัมพันธ์ฉันเพื่อน-ญาติเปล่าอ่ะ (อย่าบอกน่ะว่ามีลักษณะทางร่างกายคล้ายกัน) อาจารย์วาดได้สุดยอดค่ะ ขอบคุณที่เอาภาพมาโพสต์ให้ดูเป็นบุญตาค่ะ ทราย
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1014 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 14:32:47 » |
|
พี่มีนาคะ ขอบคุณมากที่เข้ามาเยี่ยม พวกเราที่ห้องนี้ค่ะ จะให้ดี ... ก็ส่ง ... อักษราเป็นภาษาทักทายไว้ด้วยก็ดีค่ะ กำลังหัดเรียนวาดรูปค่ะ มาได้อาจารย์ดีมีฝีมืออย่าง ... อ.ปี๊ด ฝ่ายทฤษฎี และ อ.ป๋อง ฝ่ายหนับหนุนด้วยภาพประกอบ อู๊ย ... ถ้ายังวาดไม่เป็นอีกละก้อ ไม่รู้จะไปขุดเอาครูที่ไหนมาสอนล่ะคะ (แต่ห้ามดูฝีมือน่ะคะ) เชิญชวนพี่เข้ามาแจมบ่อยๆนะคะ ห้องเรียนจะได้คึกคักค่ะ อ.ปี๊ด ... แจ้งว่าไม่อนุญาตให้ หมอเสียดพ้นสภาพนักเรียนวิชานี้ค่ะ ทราย
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1015 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 14:40:47 » |
|
อ.ปี๊ดคะ เห็นความสำคัญของ Gray scale และพยายามใช้อยู่ค่ะ แต่ ... ปัญหาคือ ... สายตาไม่ดีพอที่จะแยก ระดับสี ถ้าสังเกตสีที่หน้าอกนก จะเห็นความเน่าของสี ตรงนี้นี่ ... พยายามแก้ไขค่ะ นึกว่าง่าย ... โธ่ ... แก้ได้อย่างที่เห็นละค่ะ หมดอารมณ์ชั่วขณะก่อนนะคะ! แต่ใจยังสู้ที่จะเรียนเรื่องแสง-สี-เงา ต่อค่ะ ทราย
|
|
|
|
suriya2513
|
|
« ตอบ #1016 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 16:00:08 » |
|
ไม่รู้จักกันเลยแหละครับ สัมพันธ์กันเพียงแต่อาจารย์อู๊ดดี้ เป็นรุ่นน้องที่โรงเรียนสวนกุหลาบฯครับ
|
[โบราณคดี]จุดกำเนิดเริ่มต้นของ cmadong.com by : มานพ กลับดี คลิ๊ก->
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #1017 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2553, 17:56:18 » |
|
สวัสดีครับ น้องทราย หมอเสียด พี่ป๋อง น้องตี้ถาปัด เพื่อน มีนา (นี้) ใช่ชือเล่นไหมนะ เห็นหมอเสียดเรียกอย่างนั้น เห็นน้องทรายบอกว่ามีปัญหาเรื่่องผสมสี อ.ทีดี ต้องรีบหาข้อมูลให้ทันที เพราะ เดี๋ยวลูกศิษย์ หนีหมด เคยมี เด็กโยนภู่กัน แล้วแหกปาก ว่า " ทำไม่ได้โว้ย " ต้องเอาใจ........การใช้สีกับ Gray Scale Mr. Munsell ได้สร้าง มิติ ของสี เพื่อ ความเข้าใจง่ายๆไว้ดังนี้ (การนำสีไปใช้ต่อไปนี้ใช้ประสบการณ์มาบอกเล่า ไม่ได้เอามาจากฝรั่งอย่างเดียว อะไรใช่-ไม่ ผิด-ถูก เข้าใจ - ไม่เข้าใจ ใช้วิธี คุยร่วมกัน) ถ้าเราเอาสีต่างๆมา ล้อมวง เป็นทรงกลม โดยเกิดจากสีข้างๆ กันผสมกันจะได้สีขั้นที่ 2- ขั้นที่ 3- ขั้นที่4 ฯลฯ รวมทั้งขั้นที่1 ที่มี3 ด้วย ฝรั่งเรียกว่า Hue (ฮิว) โดยไม่มีสีดำ- สีขาวเข้าผสม เป็นการผสมสีแท้ พอวางวงล้อสีลงแบนๆ ก็เปรียบ เสมือน สับปะรดผ่าซีก ครึ่งลูก เสมือนภาพ ต.ย. ข้างบน ถ้าตรงแกนกลางยังคงอยู่เต็มแท่ง ให้แทนค่าแกน สับปะรด ด้วย Gray Scale จะได้ดำ( มืด )อยู่ล่าง ขาว สว่าง อยู่บน
|
|
|
|
มีนา
Hero Cmadong Member
ออฟไลน์
รุ่น: rcu2515
คณะ: รัฐศาสตร์
กระทู้: 1,865
|
|
« ตอบ #1018 เมื่อ: 28 ตุลาคม 2553, 10:46:34 » |
|
หมอเสียดเรียกชื่อเล่น ถูกแล้ว เด็กโยนภู่กัน คงโยนลงพื้น ไม่ใช่โยนใส่อาจารย์ เป็นครูต้องใจเย็นเนอะ
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1019 เมื่อ: 29 ตุลาคม 2553, 06:49:54 » |
|
โห ... พี่ปี๊ดคะ หยั่งงี้แหละ ที่อยากได้! ถ้ามีความรู้จะอธิบายมากกว่านี้ ... ก็ ... เอาอีกกกก ... ขอบคุณมากค่ะ ทราย
|
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #1020 เมื่อ: 29 ตุลาคม 2553, 07:32:04 » |
|
สวัสดีน้องทราย เพื่อน พี่ น้อง ผมหายไปนิดหน่อย พยายามหา อุปกรณ์ ประกอบการอธิบายมาเพิ่ม ยังหาภาพประ กอบไม่ได้ ที่นี้เราทำความเข้าใจในการสร้าง 3 มิติของ (Hue) แต่ละ สีเพื่อนำไป ใช้งาน ภาพที่ 1 เป็นการเปรียบ (Hue) สี กับ Gray Scale หรีตามองไล่ขึน -ไล่ลง ถ้าเขาพอดี ก็ตรงนั้นแหละ เป็นระดับค่าความสว่างของ(Hue)สีนั้นให้เทียบ ในแสง Day Light ธรรมดานะ ไม่แสงเทียน หรือ แสงสี เพราะ การเทียบสี มันจะเพี้ยน อย่าลืมว่า เรากำลัง มองการสะท้อนแสงของ Pigment ภายใต้ สภาวะปกติ ...............แต่ในความเป็นจริงสภา วะของการเห็นไม่เคยนิ่ง .........องศาเปลียน-แสงเปลียน ตลอดเวลา เป็น อจินไตย การสร้างงาน ศิลปะมันเป็นสมมุติ การหยุด หรือบันทึก ช่วงของการเวลานั้นๆเพื่อการเสพทางตา (โดยเฉพาะเรื่องสี)
|
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #1021 เมื่อ: 29 ตุลาคม 2553, 10:07:39 » |
|
เมื่อสภาวะธรรมชาติของการมอง เสมือนเราชี้ปลายเข็มไปสู่ตำแหน่งนั้น ( Focus ) ชัด แต่เราได้ภาพกว้าง-ใหญ่ เพราะ ความจริงลูกตาเราจะส่ายไปมาตลอดเวลา บน ล่าง ซ้าย ขวา เร็วกว่าฟิล์มภาพยนตร์วิ่ง ซะอีก นอกจาก Hue ที่มาสอดประสานกัน แล้วยังมีอีก หนึ่งตัว คือ " K '' จำได้ไหม? Hueหมายถึง ....../ K หมายถึง................. ย้อนดูของเก่านิด( ถ้าบางท่าน จำไม่ได้) เรากำลังจะหยุดภาพแห่งกาลเวลา จะมีสีแ้ท้แค่ จุด เล็กๆ นอกนั้น จะมี " K " ผสมเต็มไปหมด เพราะ แสง Lost เมื่อมุมไม่ตรง .....(แสงเดินทางเป็นเส้นตรง) เราจะบันทึกได้ด้วยวิธีเดียว คือ ใส่ Pigment .' K' เข้าไปใน Hue นั้นก็คือการเติม Gray Scale เข้าไปใน Hue สมมุติว่าเป็น สีแดง (Hue) อยู่ที่ระดับ 5 ของ Gray Scale .............ถึงแบบฝึกหัดแล้วนะ พี่ปิ๊ดได้เคยผ่านการผสมสี เช่นนี้มาแล้ว สีเต็มบ้าน..............ตัด กระดาษ สำหรับ ทาสีแผ่นละสัก 1ตารางนิ้ว ใช้สีนํ้าสะดวกที่สุด เพราะค่อยๆทำและสามารถ ปล่อยให้แห้งได้พอจะ ทำต่อก็แค่เติมนํ้า ก็ใช้ต่อได้อีก เอาละ สมมุติว่าสีเทาระดับ 5 อยู่ ซ้ายมือ มีระยะทาง ประมาณ 10 ช่วง วิ่งไปสู่ สีแดง ทางขวามือ เหมือนคณิตศาสตร์ อัตราส่วนจากมาก(เทา) ไปหาน้อย โดย สีแดงมีค่าคงที่ ทำมากๆแล้วเอามาจัดเรียงกัน ให้ สีเทา กับ สีแดง ซึมซับเข้าหากันชนิด วิ่งไป มา ไม่สะดุด ต.ย.
|
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #1022 เมื่อ: 29 ตุลาคม 2553, 21:49:27 » |
|
ขอต่ออีกหน่อย การผสมสี อย่างหลากหลาย ระหว่าง สีของ Gray Scale กับ Hue (สีแท้ต่างๆ) เป็นเสมือนหนึ่ง การสร้างสภาวะ ของสีแท้ในสภาพ แสงที่แตกต่างกัน ถ้าเราอยู่ในห้องทดลองแสง เมือเราหรี่ แสงสว่างลง เราก็จะได้เห็นความเปลียนแปลงของ สีหนึ่ง สี สามารถ เปลียนได้ คล้ายกระ ดาษแผ่นเล็กๆที่เราผสมสี เราจะสามารถสร้างสามเหลี่ยมการเปลียนแปลงแบบซึมซับของ แต่ละสี(Hue)ได้ โดยมี Gray Scale เป็นแกนหลัก ฝรั่งเรียก Chroma หรือ Saturation จาก ตัวอย่าง ทุกแผ่น ข้างบนยังเรียกว่าสีแดงเหมือนเดิม แต่อยู่ภายใต้ Condition ที่แตกต่างกัน เป็นการสะท้อน ของ Pigment และค่า K ทำงานพร้อมกัน ทำได้ทุกสีเช่นกัน Munsell ได้สร้างมิติของสีนี้ ขึ้นมาใช้เมื่อ 100 ปีที่แล้ว ยํ้า พวกวิทยาศาสตร์เขาใช้ ของ CIE นะ ของพวกเราไม่ต้องระเอียดเ่ท่า ใช้ Munsellก็พอแล้ว
|
|
|
|
ทราย 16
|
|
« ตอบ #1023 เมื่อ: 31 ตุลาคม 2553, 09:49:52 » |
|
รวบรวม lecture ได้ 27 หน้าละค่ะ กำลังทดลองหลักการของ Gray scale กับสีต่างๆค่ะ หนุกดีแฮะ ทราย
|
|
|
|
Pete15
|
|
« ตอบ #1024 เมื่อ: 31 ตุลาคม 2553, 16:37:54 » |
|
สวัสดีครับน้องทราย และ พี่ - น้อง เพื่อนๆ เราพอจะเข้าใจแล้ว ถึง มิติ ของ สี สรุป กล่าวคือ - Hue สีแท้ที่เกิดขึ้นจาก สีขั้นที่ 1 ผสม กับ สีข้างเคียง และก็ผสมสีข้างเคียงอีกๆๆ - Saturation หรือ Chroma เป็นสี สีเดียว ( Hue )ไม่มีสีอื่นเจือปนแปลเปลียน ไปตามสภาวะของแสง มีอ่อน-เข้ม สะท้อนโดย Pigments จากสว่างไปสู่ความ มืด ทำให้ค่าของความเข้มของสีที่ตาเห็นเปลี่ยนไป การจำลองเหตุโดยทางศิลปะ จำเป็นจะต้องใส่ Pigment ขาว - ดำเข้าไป เพื่อ สมมุติเหตุการณ์ของกาลเวลา จึงไม่นับว่า ขาว - ดำ เป็น สี ( Hue ) เป็นเพียงทำหน้าที่ ดูดซึม และ สะท้อนออก ของคลื่นแสง ของทุก สี เท่านั้น จึงมีสภาพเป็นกลาง -Value เป็นการตั้งค่า ความมืด-สว่าง ที่สมมุติไว้ 10 ระยะ คือ มืดสนิท เริ่มที่ 0 ไล่ ขึ้นแนวตั้ง ไปบนสุดระยะที่ 10สว่างสุด และ เมื่อ เรา เทียบสีใดๆ ว่ามี ค่าความ สว่างแค่ไหน ? นั้นก็คือ ค่าของความสว่างของสีนั้น ในสภาวะแสง ปกติ เป็นค่า แท้ และถูกต้องของสี นั้น ซึ่งผู้ใช้ควรอ้า่งระยะของ Gray Scale ประกอบด้วย เช่น ผสมสี ส้ม ที่ความเข้ม ระยะ 3 ของ Gray Scale เป็นต้น
....................โอ โฮ สรุป ได้อย่างไร ? (วะ) ............น้องทราย พี่ปิ๊ด ไม่เคยสรุปอย่างนี้มาก่อนในชีวิต และก็ไม่เคย เห็น ตำรา ฝรั่งเล่มไหน สรุปไว้เลย เท่าที่มี่ และได้ ศึกษามา ตำราไทยใช้ แปลคำศัพท์เอา ไม่ได้ความหมาย .........วันนี้มาเปิดอ่าน ข้อความของน้องทราย แล้ว คิดว่า" จะคุยเรื่องอะไรต่อ " แล้วมันก็ไหลๆออกมา สำหรับพี่เองแล้วพี่ตื่นเต้น แล้วมันก็ ไหล ๆ ๆ ตัวเองก็พิมพ์ช้า กลัวลืม ตอนนี้มานั่งถามตัวเองว่า "ตูคิดได้อย่างไรวะ!" ......อ๋อไอ้สิ่ง นี้มันคงอยู่ในตัวเราเองตลอด ทำให้ พี่ปิ๊ด เห็น มิติ( + 3 มิติ ) ของสีอยู่ตลอดเวลา..........
|
|
|
|
|